Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80130
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ สกุลพรรณ์-
dc.contributor.advisorชาลินี สุวรรณยศ-
dc.contributor.authorวิชุดา ปาวินen_US
dc.date.accessioned2024-10-22T09:49:46Z-
dc.date.available2024-10-22T09:49:46Z-
dc.date.issued2024-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80130-
dc.description.abstractSuicide is a critical public health issue, particularly the escalating risk of suicide among adolescents, which significantly impacts the quality of life for young people globally. This predictive correlational study aimed to assess the risk of suicide in adolescents and identify predictive factors, including depression, cyberbullying behavior, and internet addiction behavior. The study sample comprised 173 male and female high school students, aged 15-19 years, under the Secondary Education Service Area Office (Khet 34). Data collection instruments included 1) personal information questionnaires; 2) the suicide risk assessment in the suicidality section of the Mini International Neuropsychiatric Interview (M.I.N.I.); 3) the Center for Epidemiologic Studies-Depression Scale (CES-D); 4) the Being Cyberbullied Inventory; and 5) the Thai version of the Internet Addiction Test. Data was analyzed using correlation statistics and multiple linear regression analysis with a stepwise technique, statistical significance at a level of 0.05. The research findings were as follows: 1. Among the sample, 45.70% exhibited a risk of suicide, with the majority of those at risk (58.2%) displaying a low level of risk, followed by 22.80% displaying a high level. 2. Cyberbullying behavior was not a predictor of suicide risk in adolescents. 3. Depression significantly predicted suicide risk in adolescents, accounting for 37.40% of the variance, with statistical significance at a level of 0.01. 4. Internet addiction behavior was a significant predictor of suicide risk in adolescents, explaining 5.50% of the variance, with statistical significance at a level of 0.01. 5. Depression and internet addiction behavior were joint significant predictors of suicide risk, accounting for 42.90% (p < 0.01). These findings have significant implications for psychiatric nursing and mental health professionals. The results provide valuable insights for developing targeted nursing interventions to mitigate suicide risk among adolescents, with a particular focus on addressing and reducing depression and internet addiction behaviors within this vulnerable population.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยทำนายความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นen_US
dc.title.alternativeFactors predicting suicidal risk among adolescentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการฆ่าตัวตาย-
thailis.controlvocab.thashความซึมเศร้า-
thailis.controlvocab.thashความซึมเศร้าในวัยรุ่น-
thailis.controlvocab.thashโรคติดอินเทอร์เน็ตในวัยรุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการฆ่าตัวตายเป็นปัญหาที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น และส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของวัยรุ่นทั่วโลก การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนาย (Predictive correlational study) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น และศึกษาปัจจัยที่ทำนายของ ภาวะซึมเศร้า พฤติกรรมการถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ และพฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ต ต่อความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นเป็นนักเรียนทั้งเพศชายและหญิง อายุระหว่าง 15-19 ปี ที่กำลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสถานศึกษามัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่) จำนวน 173 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย ในหมวดการประเมินการฆ่าตัวตาย (Suicidality) ของเครื่องมือวินิจฉัยโรคทางจิตเวชฉบับย่อ (Mini International Neuropsychiatric Interview: M.I.N.I) 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่น 4) แบบประเมินการถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ของวัยรุ่น และ 5) แบบประเมินการติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และ ใช้สถิติอ้างอิงวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ (Multiple Linear Regression) ด้วยเทคนิคสเตพไวส์ (stepwise method) กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย พบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ร้อยละ 45.70 โดยส่วนใหญ่ร้อยละ 58.20 มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายอยู่ในระดับน้อย รองลงมาร้อยละ 22.80 มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในระดับมาก 2. พฤติกรรมการถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ไม่สามารถทำนายความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายของวัยรุ่นได้ 3. ภาวะซึมเศร้าสามารถทำนายความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยวัยรุ่น ร้อยละ 37.40 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 4. พฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ตสามารถทำนายความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยวัยรุ่นร้อยละ 5.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 5. ภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ต สามารถร่วมกันทำนายความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้ ร้อยละ 42.90 (p<0.01) ผลการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพยาบาลจิตเวชและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องที่ทำงานด้านสุขภาพจิตโดยสามารถนำผลที่ได้จากการศึกษาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นโดยเน้นการจัดการหรือลดภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ตในวัยรุ่นen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231117-WICHUDA PAWIN.pdf7.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.