Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยศธนา คุณาธร-
dc.contributor.authorวิพุธ ประสิทธิ์สุขen_US
dc.date.accessioned2024-10-22T00:39:32Z-
dc.date.available2024-10-22T00:39:32Z-
dc.date.issued2024-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80119-
dc.description.abstractThis research aims to analyze and determine the optimal size of solar photovoltaic systems and energy storage systems for the Mae Moh Training Center building group of the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT), with the goal of developing them into Nearly Zero Energy Buildings (nZEBs). The research employs energy consumption behavior analysis, solar photovoltaic system simulation, and optimization using the Generalized Reduced Gradient (GRG) method. The results indicate that the most suitable configuration consists of a 136 kW (262 panels) solar photovoltaic system combined with a 100 kWh energy storage system. This setup can reduce energy consumption by 50%, achieve a 75% solar energy utilization rate, and has a payback period of 8.67 years. The system can produce 503.36 kWh of electricity per day, with the battery capable of supplying 59.83 kWh per day. This research demonstrates that developing nZEBs requires simultaneous consideration of energy efficiency and economic viability. Integrating energy storage systems with solar photovoltaic systems enhances energy management flexibility, reduces impact on the power grid, and improves energy security. Although initial costs are higher, this approach offers greater long-term benefits. The findings of this research can serve as a guideline for developing other buildings into nZEBs and support future energy and environmental policies in Thailand.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการบริหารจัดการพลังงานสำหรับกลุ่มอาคารที่ใช้พลังงานใกล้เคียงศูนย์ กรณีศึกษา ศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ.en_US
dc.title.alternativeEnergy management for near zero energy buildings : A Case study of EGAT Mae Moh training centeren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเซลล์แสงอาทิตย์-
thailis.controlvocab.thashพลังงานแสงอาทิตย์-
thailis.controlvocab.thashการใช้พลังงานไฟฟ้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และกำหนดขนาดที่เหมาะสมของระบบเซลล์แสงอาทิตย์และระบบกักเก็บพลังงานสำหรับกลุ่มอาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อพัฒนาให้เป็นกลุ่มอาคารที่มีการใช้พลังงานใกล้เคียงศูนย์ (Nearly Zero Energy Buildings: nZEBs) การวิจัยใช้วิธีการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้พลังงาน การจำลองระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และการหาค่าเหมาะสมที่สุดด้วยวิธี Generalized Reduced Gradient (GRG) ผลการศึกษาพบว่า การติดตั้งระบบเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 136 กิโลวัตต์ (262 แผง) ร่วมกับระบบกักเก็บพลังงานขนาด 100 กิโลวัตต์-ชั่วโมง เป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด สามารถลดการใช้พลังงานลงได้ร้อยละ 50 มีอัตราการใช้พลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ร้อยละ 75 และมีระยะเวลาคืนทุน 8.67 ปี ระบบนี้สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 503.36 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อวัน โดยแบตเตอรี่สามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ 59.83 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อวัน การวิจัยนี้ยังแสดงให้เห็นว่า การพัฒนากลุ่มอาคารให้เป็น nZEBs ต้องพิจารณาทั้งด้านประสิทธิภาพพลังงานและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ควบคู่กันไป การใช้ระบบกักเก็บพลังงานร่วมกับระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นในการจัดการพลังงาน ลดผลกระทบต่อระบบส่งไฟฟ้า และเพิ่มความมั่นคงทางพลังงาน แม้จะมีต้นทุนเริ่มต้นที่สูงกว่า แต่ให้ผลประโยชน์ที่มากกว่าในระยะยาว สรุปว่าผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาคารอื่น ๆ ให้เป็น nZEBs และสนับสนุนนโยบายด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631141-VIPUT PRASITSUK.pdf14.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.