Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.author | มัทนะ ธิหล้า | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-21T11:04:42Z | - |
dc.date.available | 2024-10-21T11:04:42Z | - |
dc.date.issued | 2024-07-30 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80115 | - |
dc.description.abstract | This independent research has three objectives: 1) to study the current condition, desired condition, and needs for the development of digital competencies of teachers affiliated with the Office of the Vocational Education Commission; 2) to study best practices in the development of digital competencies of teachers affiliated with the Office of the Vocational Education Commission; and 3) to develop and examine the guidelines for the development of digital competencies of teachers affiliated with the Office of the Vocational Education Commission. The process of this study is divided into three steps, including administrators and teachers affiliated with the Office of the Vocational Education Commission in Chiang Mai Province for the academic year 2023, totaling 184 people, along with 16 experts and 7 qualified individuals, making a total of 207 people. Research tools include questionnaires, structured interviews, group discussion recording forms, and checklists. The statistics used for data analysis include mean, standard deviation, frequency, Priority Need Index, and inferential summary analysis. The results of the study show that the current condition Desirable Conditions and Needs for the Development of Digital Competency of Teachers under the Office of the Vocational Education Commission Chiang Mai were at a high level as follows: 1) monitoring and evaluation of teachers' digital performance; 2) planning for the development of teachers' digital competencies; 3) improvement and revision of the development of teachers' digital competencies; 4) study of teachers' digital competency needs and potential; and 5) reporting on the results of teachers' digital competency development. The study of best practices in the digital competency development guidelines of teachers affiliated with the Office of the Vocational Education Commission found that the educational institutions have set systematic targets, vision, and mission plans. They study the needs and potential of teachers' digital competencies, assign responsible individuals to carry out the planned activities, and establish accurate, appropriate, and continuous criteria and standards for monitoring and evaluating teachers. These measures ensure improvement and correction in line with set needs and objectives. Various reporting methods are used to ensure convenient access to information, facilitating cooperation from all sectors involved in the development of teachers' digital competencies. The guidelines for developing digital competencies of teachers affiliated with the Office of the Vocational Education Commission of Chiang Mai Province provide the frameworks, which are: 1) principles; 2) objectives; 3) operational methods, divided into five stages: 3.1) study of teachers' needs, necessities, and digital competencies; 3.2) planning for the development of teachers' digital competencies; 3.3) monitoring and evaluation of teachers' digital competencies; 3.4) improvement and revision of teachers' digital competency development; 3.5) reporting on the results of teachers' digital competency development; and 4) conditions for success. The auditing results of the guideline quality showed that accuracy, appropriateness, feasibility, and usefulness were at the highest level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for developing digital competencies of teachers attatched to office of the vocational education commission, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | อาชีวศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | ครู | - |
thailis.controlvocab.thash | ทักษะดิจิทัล | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารการศึกษา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี และ 3) เพื่อจัดทำและตรวจสอบแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่การศึกษาประกอบด้วย 3 ระยะ ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 184 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 16 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน รวมทั้งสิ้น 207 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบตรวจสอบ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์โดยสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของกระบวนการพัฒนาเรียงจากมากไปหาน้อย อันดับ 1 คือ การดำเนินการติดตามประเมินผลสมรรถนะดิจิทัลของครู อันดับที่ 2 คือ การวางแผนการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู อันดับที่ 3 คือ การปรับปรุงแก้ไขการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู อันดับที่ 4 คือ การศึกษาความต้องการจำเป็นและศักยภาพสมรรถนะดิจิทัลของครูและอันดับสุดท้าย คือ การรายงานผลการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มีการปฏิบัติที่ดี พบว่า สถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจวางแผนการพัฒนาอย่างเป็นระบบโดยมีการ ศึกษาความต้องการจำเป็น และศักยภาพสมรรถนะดิจิทัลของครู มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการกำหนดเกณฑ์ และมาตรฐานในการติดตามประเมินผลครูอย่างถูกต้อง เหมาะสม และต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขการพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการ และเป้าหมายวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ อีกทั้ง ให้มีการจัดทำรายงานผลการพัฒนาแจ้งไปยัง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อรับรู้ รับทราบถึงผล ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนา ด้วยการรายงานที่หลากหลายวิธีการส่งผลให้สะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูล เพื่อให้เกิดความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาที่มีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ มี 4 องค์ประกอบได้แก่ 1) หลักการ 2)วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการพัฒนา ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน 3.1) การศึกษาความต้องการจำเป็นและศักยภาพสมรรถนะดิจิทัลของครู 3.2) การวางแผนการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู 3.3)การดำเนินการติดตามประเมินผลสมรรถนะดิจิทัลของครู3.4) การปรับปรุงแก้ไขการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู 3.5) การรายงานผลการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู และ 4) เงื่อนไขความสำเร็จ มีผลการตรวจสอบ ความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ระดับมากที่สุด และผ่านเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ทุกด้าน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232081-มัทนะ ธิหล้า.pdf | 10.61 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.