Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80109
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกต แก้วโชติช่วงกูล | - |
dc.contributor.author | เปรมฤทัย กายะ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-21T10:06:10Z | - |
dc.date.available | 2024-10-21T10:06:10Z | - |
dc.date.issued | 2024-08-15 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80109 | - |
dc.description.abstract | The aim of this research is to solve the problem of powder material carrying truck assignments of case study company. The main issue with this work is the disparity in average allowances per week of employee. Moreover, each truck has a different workload assigned to it. This may result in employees having high workloads fatigue and can lead to accidents. In order to achieve the most appropriate and effective assignment which consider the distance of powder material transportation per day, truck capacity, a time period using to transport in each order, and working hour conditions. To solve the problem, we generate mathematical model and find solution by comparing the truck scheduling between the pre-existing software "What’s Best Excel", the standard deviation decreased by 12%, resulting in a 12% improvement in allowances, albeit with a computation time of approximately 797,760 seconds or around 9 days. To achieve a balanced workload allocation and programming using Python, which took approximately 1 second to obtain results, but with a higher standard deviation impacting a 13% reduction in meal allowances for employees' balance. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการมอบหมายงานให้รถบรรทุกวัสดุผง | en_US |
dc.title.alternative | Using the mathematical for powder material carrying truck assignment | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | วิศวกรรมอุตสาหการ | - |
thailis.controlvocab.thash | ไพธอน (ภาษาคอมพิวเตอร์) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหาการมอบหมายงานของรถบรรทุกชนิดผงของบริษัทกรณีศึกษา โดยปัญหาหลักคือ พนักงานเกิดความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของพนักงาน รวมทั้งรถบรรทุกแต่ละคันถูกจัดงานให้มีปริมาณงานที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจส่งผลให้พนักงานที่มีปริมาณงานมาก เกิดความเหนื่อยล้าและอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เพื่อให้เกิดการมอบหมายงานอย่างมีประสิทธิภาพที่เหมาะสมสูงสุด โดยพิจารณาจากระยะทางการขนส่งวัสดุผงแต่ละวัน ความสามารถในการบรรทุกของรถ ระยะเวลาที่ใช้ในการขนส่งแต่ละคำสั่งซื้อ และเงื่อนไขชั่วโมงการทำงานของพนักงานขับรถ โดยทําการแก้ปัญหาโดยการสร้างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์และหาคำตอบ โดยเมื่อเปรียบเทียบการจัดตารางรถระหว่างโปรแกรมสำเร็จรูป What’s Best Excel ค่าส่วนเบี่ยงเบียนมาตรฐานที่มีค่าลดลงส่งผลต่อค่าเบี้ยเลี้ยง มีความสมดุลมากขึ้น 12 เปอร์เซ็นต์ แต่ใช้เวลาในการหาคำตอบ 797,760 วินาที หรือโดยประมาณ 9 วัน เพื่อให้ได้คำตอบการจัดสมดุลภาระงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพธอน (Python) ซึ่งใช้ระยะเวลา 1 วินาทีในการหาผลลัพธ์ แต่มีค่าส่วนเบี่ยงเบียนมาตรฐานที่มีค่ามากขึ้นส่งผลต่อเบี้ยเลี้ยงของพนักงานมีความสมดุลลดลง 13 เปอร์เซ็นต์ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631053-PREMRUETHAI KAYA.pdf | 4.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.