Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80104
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.author | รณชิต อภัยวาทิน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-18T11:23:47Z | - |
dc.date.available | 2024-10-18T11:23:47Z | - |
dc.date.issued | 2024-06-26 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80104 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this independent study were 1) to study the current states, desirable states, and needs assessment regarding Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa Chiangmai School, 2) to develop the strategy for developing Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa, and 3) to examine the strategy for developing Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa. This study was divided into three phases: Phase I the study of current states, desirable states, and needs assessment regarding Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa Chiangmai School. The population in this phase was 29 people, consisting of 3 school administrators, 6 school board committees, 4 department heads, and 16 teachers. The study instrument was the questionnaire of current states and desirable states regarding Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa Chiangmai School. Phase II the development of the strategy, the informants in this phase were 9 people using purposive sampling consisting of two school administrators, two school board committees, two department heads, and three teachers. The study instrument was the AIC task instructions. And Phase III the examination of the developed strategy, the 5 experts from purposive sampling examined the developed strategy. The study instruments were the strategy for developing Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa examination forms. The descriptive statistics used in this study were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results of this study found that 1) the Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa Chiangmai School had the average of current states at 3.37 and standard deviation at 0.97 being at the moderate level. The Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa Chiangmai School had the average of desirable states at 4.60 and standard deviation at 0.63 being at the highest level. And the overall need to develop had a PNImodified at 0.36, 2) The strategy for developing Early Childhood Teachers’ Active Learning Management Competency at Napa contained 6 components which were vision, mission, goal, strategy, project/activity, and key performance indicator, having 2 strategies composed of 9 projects and 15 activities. And 3) the overall examination results of this developed strategy had an average of 4.86 and standard deviation at 0.31 which was at the highest level when arranged in descending order showing the feasibility, the suitability, and the consistency. It indicated that they passed the criteria. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Strategy for developing early childhood teachers’ active learning management competency at Napa Chiangmai School | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารการศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาปฐมวัย | - |
thailis.controlvocab.thash | ครูปฐมวัย | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียน นภาเชียงใหม่ 2) พัฒนากลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ และ 3) ตรวจสอบกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 29 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา จำนวน 6 คน หัวหน้าฝ่าย จำนวน 4 คน และผู้สอน จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ ระยะที่ 2 การพัฒนากลยุทธ์ฯ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 9 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน หัวหน้าฝ่าย จำนวน 2 คน และผู้สอน จำนวน 3 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ใบงานประกอบกระบวนการระดมพลังสร้างสรรค์ (AIC) และระยะที่ 3 การตรวจสอบกลยุทธ์ฯ ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบกลยุทธ์ที่พัฒนาขึ้น จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบประเมินกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) สมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ มีค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน เท่ากับ 3.37 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.97 อยู่ในอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ เท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.63 อยู่ในระดับมากที่สุด และมีค่าเฉลี่ยดัชนีความต้องการจำเป็น เท่ากับ 0.36 มีความต้องการจำเป็นในการพัฒนา 2) กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของผู้สอน ระดับปฐมวัย โรงเรียนนภาเชียงใหม่ มี 6 องค์ประกอบ คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม และตัวชี้วัดความสำเร็จ ประกอบด้วย กลยุทธ์ จำนวน 2 กลยุทธ์ มีโครงการ จำนวน 9 โครงการ และกิจกรรม จำนวน 15 กิจกรรม และ 3) ผลการตรวจสอบกลยุทธ์ พบว่า ผลการประเมินทั้ง 3 ด้าน มีค่าเฉลี่ยรวมของผลการประเมินกลยุทธ์ เท่ากับ 4.86 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.31 อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านความเป็นไปได้ ด้านความเหมาะสม และด้านความสอดคล้อง เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย และมีผลการตรวจสอบกลยุทธ์ผ่านเกณฑ์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232083 รณชิต อภัยวาทิน.pdf | 10.62 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.