Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80101
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAmporn Jirattikorn-
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.advisorMukdawan Sakboon-
dc.contributor.authorSalai Vanni Bawien_US
dc.date.accessioned2024-10-15T00:56:12Z-
dc.date.available2024-10-15T00:56:12Z-
dc.date.issued2024-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80101-
dc.description.abstractThis study analyzes the initiative of community-based tourism (CBT) in Saw Lawng village, Chin State, Myanmar, focusing on power dynamics, cultural commercialization, identity formation, and the community’s coping mechanisms during periods of political crisis in Myanmar. Using ethnography, the example of CBT as a development intervention in politically unstable environments is highlighted, and the various facets of tourism—particularly in vulnerable regions—are explored. The researcher investigates three main issues: (1) the stakeholders and their power and conflict relations under the CBT initiative; (2) the processes of commercialization and the emergence of new cultural identities; and (3) the effects of the 2021 military coup on the tourism industry and the community's adaptive strategies. The examination reveals the power relations involved in developing the CBT project in Saw Lawng. Outside actors, such as Forever Top Travel and Tour Company, have taken over decision-making, often ignoring the voices of local people. Such factors reinforce existing power inequalities within the community. For example, in CBT management, the Maw Tui tribe, represented by the village headman, exercises unnecessary dominance in the community. Additionally, the findings show that benefit-sharing arrangements are not transparent and unfair, with only a few individuals involved in tourism activities earning the most benefits. The study also highlights the commercialization of culture and its role in shaping identity in this context. The selective representation of culture poses a challenge, as some community members want to preserve their culture while others commercialize it for tourism. Nonetheless, the research reveals that some forms of cultural commodification, particularly among young people, involve a return to traditional aspects of tourism. Unfortunately, the development of tourism in Saw Lawng was disrupted by the military coup in February 2021, prompting various responses from the community. The coup's immediate impact on tourism stemmed from fears about security and communication shutdowns. As a result, community members adopted alternative measures, such as returning to farming to generate income without relying on tourism. Despite these setbacks, the community displayed resilience in safeguarding cultural resources to revive the tourism sector after the crisis. Finally, the findings have broader implications beyond Saw Lawng village and contribute to understanding how CBT is implemented in developing countries, particularly under political instability. Besides, the research findings present how implementing CBT in Saw Lawng demonstrates the necessity of a top-down approach, particularly in communities needing more financial capital and tourism expertise. While this initiative contradicts CBT principles, this approach can be seen as a pragmatic first step in communities where the community has faced significant financial constraints. The study revealed that the involvement of outsiders could provide the initial investment and expertise needed for pre-condition analysis to kickstart tourism development. Thus, this research proposes the need for a thorough pre-conditions study before establishing CBT in any community. This pre-conditions analysis should encompass village politics, power dynamics, social structure, gender relations, economic landscape, cultural assets, and community aspirations. Indeed, these comprehensive pre-condition studies provide a foundation for designing CBT initiatives that are more familiar with local realities.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleCommunity based tourism in Saw Lawng Village: Understanding and participation of local Chin Community in Chin State, Myanmaren_US
dc.title.alternativeการท่องเที่ยวโดยชุมชนในหมู่บ้านซอว์ลอง: ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของชุมชนชาติพันธุ์ชินที่มีต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในรัฐชิน ประเทศเมียนมาร์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCommunity-based tourism -- Myanmar-
thailis.controlvocab.lcshHeritage tourism -- Myanmar-
thailis.controlvocab.lcshMyanmar -- Description and travel-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานศึกษาชิ้นนี้วิเคราะห์การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในหมู่บ้านซอว์ลอง รัฐชิน ประเทศเมียนมา โดยเน้นศึกษาพลวัตของอำนาจ การทำให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้า การก่อตัวของอัตลักษณ์ และกลไกการรับมือของชุมชนในช่วงวิกฤตทางการเมืองในเมียนมา โดยได้ใช้วิธีวิทยาเชิงชาติพันธุ์วรรณนาในการศึกษาครั้งนี้ ความโดดเด่นของงานชิ้นนี้คือ เป็นการศึกษาการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เกิดขึ้นในชุมชนที่มีความเปราะบางท่ามกลางความไม่มั่นคงทางการเมือง โดยมุ่งพิจารณาสามประเด็นหลักด้วยกันคือ (1) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรมการท่องเที่ยว ความสัมพันธ์เชิงอำนาจและความขัดแย้งในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (2) กระบวนการทำให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้าและการเกิดขึ้นของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมใหม่ และ (3) ผลกระทบจากการรัฐประหารในปีพ.ศ. 2564 ที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและกลยุทธ์การปรับตัวของชุมชน งานศึกษาชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนซอว์ลอง โดยมีผู้กระทำการจากภายนอก เช่น บริษัท ฟอร์เอเวอร์ทอปแทรเวลแอนด์ทัวร์ (Forever Top Travel and Tour) เข้ามาครอบงำการตัดสินใจโดยไม่ฟังเสียงของคนในท้องถิ่น จนก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางอำนาจในชุมชน รวมทั้งการบริหารพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชนเผ่ามอว์ตุย (Maw Tui) โดยมีหัวหน้าหมู่บ้านซึ่งเป็นคนของชนเผ่านั้นเป็นผู้แสดงบทบาทและใช้อิทธิพลของตนในชุมชน นอกจากนี้ ผลการศึกษายังแสดงให้เห็นว่ามีการจัดสรรผลประโยชน์ที่ไม่โปร่งใสและไม่ยุติธรรม ทำให้มีคนที่ได้รับผลประโยชน์มากที่สุดเพียงไม่กี่คน นอกจากนี้ งานศึกษาชิ้นนี้ยังเผยให้เห็นกระบวนการทำให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้าและบทบาทของกระบวนการดังกล่าวในการก่อตัวของอัตลักษณ์ โดยพบว่า การเลือกสรรเฉพาะบางส่วนของวัฒนธรรมนั้นก่อให้เกิดข้อท้าทายสำหรับสมาชิกในชุมชนเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากพวกเขามีความต้องการที่จะรักษาวัฒนธรรมของตนไว้ ในขณะที่กลุ่มทุนท่องเที่ยวมุ่งแต่แสวงหาผลประโยชน์ทางธุรกิจเพียงอย่างเดียว อย่างไรก็ตาม งานวิจัยนี้ก็เผยให้เห็นด้วยว่า ในอีกแง่หนึ่ง การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ก็ทำให้คนในชุมชนโดยเฉพาะคนหนุ่มสาวได้หวนคืนสู่การรับรู้ในมรดกทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของพวกเขาในบริบทการท่องเที่ยวด้วยเช่นกัน กระนั้นก็ตามเป็นที่น่าเสียดายที่การพัฒนาการท่องเที่ยวในซอว์ลองจำเป็นต้องหยุดชะงักลงเพราะการรัฐประหารในเมียนมาที่เกิดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ที่ส่งผลให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัย และระบบการสื่อสารก็ถูกตัดขาดจากโลกภายนอกด้วย ท่ามกลางสถานการณ์ดังกล่าว สมาชิกในชุมชนจึงจำเป็นต้องปรับตัวหันไปสู่การทำมาหากินในรูปแบบอื่น ๆ เช่น การกลับไปสู่ภาคเกษตรกรรมเพื่อสร้างรายได้โดยไม่ต้องพึ่งพาการท่องเที่ยว ในขณะที่ยังรักษาวัฒนธรรมของตนไว้พร้อมเพื่อหันเข้าสู่การหารายได้ในภาคการท่องเที่ยวต่อไปเมื่อผ่านพ้นวิกฤตทางการเมืองดังกล่าว แม้งานวิจัยชิ้นจะเน้นกรณีศึกษาการจัดการท่องเที่ยวเชิงชุมชนเฉพาะของหมู่บ้านซอว์ลอง แต่ก็สามารถสร้างความเข้าใจให้กับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาโดยภาพรวมด้วย โดยเฉพาะการจัดการท่องเที่ยวภายใต้บริบทของความไม่มั่นคงทางการเมือง นอกเหนือจากนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ยังมีข้อเสนอแนะว่า ท่ามกลางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในหมู่บ้านซอว์ลองซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีความเปราะบางนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยวิธีการดำเนินงานแบบจากบนสู่ล่าง เพราะชุมชนที่มีความเปราะบางลักษณะดังกล่าวมักจะขาดทุนทางการเงินและความเชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยว แม้ว่าวิธีการนี้จะสวนทางกับหลักการของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นให้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง แต่สำหรับชุมชนเปราะบางในลักษณะที่ผู้วิจัยนำเสนอผ่านงานชิ้นนี้ นับว่าวิธีการดังกล่าวถือเป็นก้าวแรกที่สำคัญสำหรับพวกเขา ฉะนั้น งานชิ้นนี้จึงมีข้อเสนอให้กับกลุ่มหรือชุมชนที่ต้องการจัดการท่องเที่ยวว่า ก่อนที่จะมีการดำเนินโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนขึ้นนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการทำแผนศึกษาวิเคราะห์เงื่อนไขเบื้องต้นของชุมชนก่อน โดยการวิเคราะห์เงื่อนไขเบื้องต้นนี้ควรครอบคลุมถึงการเมืองภายในหมู่บ้าน พลวัตของอำนาจ โครงสร้างทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ภูมิทัศน์ทางเศรษฐกิจ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม และความปรารถนาของชุมชน ซึ่งแน่นอนว่าการศึกษาสภาพเงื่อนไขเบื้องต้นเหล่านี้เป็นรากฐานของการออกแบบโครงการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่สอดคล้องกับสถานการณ์ความเป็นจริงในชุมชนมากขึ้นen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610455801 - SALAI VANNI BAWI.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.