Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBuntitabhon Sirichanchuen-
dc.contributor.advisorNarawadee Niamhun-
dc.contributor.advisorThanawat Rattanathammethee-
dc.contributor.authorNatthawat Yodsurangen_US
dc.date.accessioned2024-10-11T11:11:53Z-
dc.date.available2024-10-11T11:11:53Z-
dc.date.issued2023-08-18-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80090-
dc.description.abstractBackground: In Thailand, imatinib (IMT) is used as the first-line therapy for all risk scores of chronic myeloid leukemia (CML). Although IMT is typically effective, it is only recommended for low-risk CML in the international recommendations for the treatment of CML. Consequently, the response rate of IMT may vary for patients with intermediate- to high-risk CML. Regarding the response rate of IMT in Thailand is limited. Objective: This retrospective study aims to determine the response rate of IMT and the response rate when stratified by risk for CML treatment in Thailand. Materials and Methods: Newly diagnosed CML patients treated with IMT as the initial therapy at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital or Lampang Hospital between January 1, 2011 and April 30, 2019 were included. The primary endpoint was the response rate, determined as the complete hematologic response rate (CHR) at 3 months, the early molecular response rate (EMR) at 6 months, or the major molecular response rate (MMR) at 12 and 18 months. The secondary endpoint was event-free survival (EFS), which was defined as loss of response, progression to accelerated phase or blast phase and death due to the disease. The prognostic risk scores were calculated according to Sokal risk, The European Treatment Outcome Study (EUTOS), and The EUTOS Longterm Survival (ELTS). Results: Of 225 CML patients, the average age was 48.0±16.6 years, and the majority were male (127/225, 56.4%). CHR at 3 months was 81.4%, EMR at 6 months was 55.8%, MMR at 12 months was 58.7%, and MMR at 18 months was 69.5%. The median EFS was 123.27 months [95% CI 86.54–NE]. Only 195 patients had sufficient information for the risk score calculation. The percentage and number of patients categorized as having low, intermediate, or high prognostic risk according to Sokal risk were 36.4% (71), 25.6% (50), and 38.0% (74), respectively. Those according to the EUTOS risk score were 68.2% (133) and 31.8% (62), respectively. Those according to the ELTS risk score were 19.5% (38), 34.9% (68), and 45.6% (89), respectively. The response rate stratified by risks, which were CHR at 3 months, EMR at 6 months, MMR at 12 months, and MMR at 18 months, showed no difference between low, intermediate, and high in all risk classifications. Conclusion: The response rate of IMT as the first-line therapy in CML patients was good. Response rates in CML patients across various risk scores did not show statistic difference, however the results might be underpower to determine the survival difference by risk score. Further investigation through prospective study is necessary. Thus, the use of IMT, regardless of the risk classification, is acceptable in Thailand.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectImatiniben_US
dc.subjectchronic myeloid leukemiaen_US
dc.subjectresponse rateen_US
dc.subjectprognostic risken_US
dc.titleResponse rate of Imatinib in patients with Chronic Myeloid Leukemiaen_US
dc.title.alternativeอัตราการตอบสนองของยาอิมาทินิบในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิดมัยอีลอยด์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshImatinib-
thailis.controlvocab.lcshChronic myeloid leukemia-
thailis.controlvocab.lcshAntineoplastic agents-
thailis.controlvocab.lcshLeukemia -- Chemotherapy-
thailis.controlvocab.lcshLeukemia -- Patients-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในประเทศไทยยาอิมาทินิบได้รับการรับรองให้ใช้เป็นยาขนานแรกเพื่อรักษาโรคเม็ดเลือด ขาวเรื้อรังชนิดมัยอีลอยด์ (CML) โดยไม่คำนึงถึงคะแนนความเสี่ยงของผู้ป่วย แม้ว่ายาอิมาทินิบจะมี ประสิทธิภาพที่ดี แต่แนวทางการรักษาในต่างประเทศ แนะนำให้ใช้ยาอิมาทินิบเป็นยาขนานแรกใน ผู้ป่วย CML ที่มีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งการศึกษาเรื่องอัตราการตอบสนองของยาอิมาทินิบในประเทศ ไทย ยังมีจำกัด ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อศึกษาอัตราการตอบสนองของยาอิมาทินิบ โดยรวม และอัตราการตอบสนองเมื่อจำแนกตามความความเสี่ยงในการรักมา CML ในประเทศไทย โดย วิธีการศึกษา คือ การศึกษาแบบเก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนของผู้ป่วย CML ที่ได้รับการ วินิจฉัยใหม่และได้รับการรักษาด้วยยาอิมาทินิบ เป็นการรักษาเป็นขนานแรกที่โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่หรือโรงพยาบาลลำปาง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562 โดยผลลัพธ์หลัก คือ อัตราการตอบสนองโดยรวม ได้แก่ complete hematologic response rate (CHR) ที่ 3 เดือน, early molecular response rate (EMR) ที่ 6 เดือน, major molecular response rate (MMR) ที่12 เดือน และ MMR ที่ 18 เดือน และผลลัพธ์รอง คือ ระยะการอยู่รอดโดยโรคสงบ (progression free survival) และอัตราการตอบสนองเมื่อจำแนกตามระดับความเสี่ยง ตามสมการของ Sokal risk score, The European Treatment Outcome Study (EUTOS) และ The EUTOS Long-term Survival (ELTS) ผลการศึกษา พบว่าจากผู้ป่วย CML จำนวน 225 ราย อายุเฉลี่ย 48.0±16.6 ปีและเป็นเพศชายส่วนใหญ่ (127/225, ร้อยละ 56.4) อัตราการตอบสนองของ CHR ที่ 3 เดือน คือ ร้อยละ 81.4, EMR ที่ 6 เดือน คือ ร้อยละ 55.8, MMR ที่ 12 เดือน คือ ร้อยละ 58.7, และ MMR ที่ 18 เดือน คือ ร้อยละ 69.5 และค่ามัธยฐานของระยะการอยู่รอดโดยปราศจากโรค คือ 123.27 เดือน [95% CI 86.54-NE] ซึ่งมีผู้ป่วยเพียง 195 รายที่สามารถคำนวณคะแนนความเสี่ยง โดยร้อยละและจำนวนผู้ป่วยที่ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มความเสี่ยงต่ำ กลาง หรือสูงตามความเสี่ยงของ Sokal คือ ร้อยละ 36.4 (71 ราย), ร้อยละ 25.6 (50 ราย) และ ร้อยละ 38.0 (74 ราย) ตามลำดับ กลุ่มความเสี่ยงต่ำ หรือสูงตามความเสี่ยงของ EUTOS คือ ร้อยละ 68.2 (133 ราย) และร้อยละ 31.8 (62 ราย) ตามลำดับ กลุ่มความเสี่ยงต่ำ กลาง หรือสูงตาม ความเสี่ยงของ ELTS คือ ร้อยละ19.5 (38 ราย), ร้อยละ34.9 (68 ราย) และ ร้อยละ 45.6 (89 ราย) ตามลำดับ เมื่อพิจารณาอัตราการตอบสนองเมื่อจำแนกตามความเสี่ยงทั้ง CHR ที่ 3 เดือน, EMR ที่ 6 เดือน, MMR ที่ 12 เดือน และ MMR ที่18 เดือน พบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มความเสี่ยงที่ต่ำ กลาง และสูง โดยสรุป การใช้ยาอิมาทินิบเป็นยาขนานแรกในผู้ป่วย CML มีอัตราการตอบสนองที่ดี แต่อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างทางสถิติของอัตราการตอบสนองในระดับคะแนนความเสี่ยงที่ แตกต่างกัน ซึ่งอาจต้องอาศัยการศึกษาแบบไปข้างหน้าเพื่อหาคำตอบเพิ่มเติม ดังนั้นการใช้ยาอิมาทิ นิบโดยไม่คำนึงถึงระดับความเสี่ยงสามารถยอมรับได้ในประเทศไทยen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611031021 ณัฐวัตร ยอดสุรางค์.pdf17.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.