Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80083
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัทยา แจ้งกระจ่าง-
dc.contributor.authorทศพร พรมใจen_US
dc.date.accessioned2024-10-09T10:39:02Z-
dc.date.available2024-10-09T10:39:02Z-
dc.date.issued2567-07-25-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80083-
dc.description.abstractThis study aims to investigate the marketing mix factors influencing customers' decisions to purchase agricultural chemicals from agricultural supply stores in Mae Rim District, Chiang Mai Province. Data were collected from a sample of 400 consumers who had previously purchased agricultural chemicals from these stores, selected through convenience sampling. A questionnaire was employed as the data collection tool. The data were analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation, as well as inferential statistics, such as t-test and F-test (ANOVA), to compare different groups. The findings revealed that the overall marketing mix factors were highly significant in influencing the decision to purchase agricultural chemicals, with an average importance rating of 4.17. Each element of the marketing mix was rated as highly significant, ranked from highest to lowest average score as follows: product (4.43), distribution channels (4.40), process (4.37), physical evidence (4.23), price (4.07), people (4.04), and promotion (3.86). Furthermore, the comparison of marketing mix factors among consumers with different personal characteristics showed that differences in gender, age, annual income, and affiliation with agricultural occupational groups significantly influenced purchasing decisions at the 0.05 level. Additionally, the comparison of importance in purchasing decisions among those growing different types of crops, with varying farm sizes, purchase frequency, and budgets per transaction also showed significant differences at the 0.05 level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectส่วนประสมการตลาดen_US
dc.subjectการตัดสินใจซื้อเคมีเกษตรen_US
dc.subjectร้านจำหน่ายเคมีภัณฑ์en_US
dc.subjectอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อลูกค้าในการตัดสินใจซื้อเคมีเกษตรจากร้านจำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตรในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMarketing mix affecting customers towards purchasing agricultural chemicals from chemical store in Mae Rim District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสารเคมีทางการเกษตร -- การจัดซื้อ-
thailis.controlvocab.thashสารเคมีทางการเกษตร -- การตลาด-
thailis.controlvocab.thashสารเคมีทางการเกษตร -- แม่ริม (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเคมีการเกษตร-
thailis.controlvocab.thashการเลือกซื้อสินค้า-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- การตัดสินใจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อลูกค้าในการตัดสินใจซื้อเคมีเกษตรจากร้านจำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตรในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคที่เคยซื้อเคมีเกษตรจากร้านจำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตรของผู้บริโภคในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน จากการสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอ้างอิง สำหรับวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกกลุ่ม ได้แก่ t-test และ F-test (ANOVA) ผลการศึกษา พบว่า ส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเคมีเกษตรจากร้านจำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตร ในภาพรวมมีความสำคัญในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.17 รายด้าน พบว่า สำคัญในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ค่าเฉลี่ย 4.43 ช่องทางการจัดจำหน่าย ค่าเฉลี่ย 4.40 กระบวนการ ค่าเฉลี่ย 4.37 สิ่งนำเสนอทางกายภาพค่าเฉลี่ย 4.23 ราคา ค่าเฉลี่ย 4.07 บุคคล ค่าเฉลี่ย 4.04 และการส่งเสริมการตลาด ค่าเฉลี่ย 3.86 ผลการเปรียบเทียบส่วนประสมทางการตลาดระหว่างผู้ที่มีข้อมูลส่วนบุคคลต่างกัน พบว่า ผู้ที่เพศ อายุ รายได้ต่อปี และสังกัดกลุ่มส่งเสริมอาชีพเกษตรต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเคมีเกษตรต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบจำแนกความสำคัญในการตัดสินใจซื้อสินค้าเคมีเกษตรของผู้ปลูกพืชชนิดต่างกัน ขนาดพื้นที่ปลูก ความถี่ในการซื้อสินค้าเคมีเกษตร และงบประมาณการซื้อต่อครั้งต่างกัน พบว่า มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเคมีเกษตรต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651532010 ทศพร พรมใจ.pdf22.94 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.