Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงศักดิ์ รินชุมภู-
dc.contributor.authorนราธร อุปทองen_US
dc.date.accessioned2024-10-07T12:50:59Z-
dc.date.available2024-10-07T12:50:59Z-
dc.date.issued2567-08-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80081-
dc.description.abstractThe Fang Basin petroleum production area is Thailand's first crude oil source, located in Mae Kha Subdistrict, Fang District, Chiang Mai Province. The Northern Petroleum Development Center conducts exploration and production by the Department of Military Energy to support increased production in the Mae Sun field. This study has applied the hierarchical analysis process to create a model for selecting the location of water separation units in petroleum production. Therefore, this research study aims to create a model for selecting the location of water separation units in petroleum production. Mae Sun production area, Fang Basin, Chiang Mai Province, is used to evaluate and create models for selecting locations for water separation units in petroleum production by studying and collecting information and interview questionnaires obtained from petroleum experts. There is a theory of the Analytic Hierarchy Process, which evaluates factors and factor importance scores to order the factors. The study results found that Important factors in the model for choosing the location of water separation units in petroleum production include four main factors and 15 secondary factors, with experts giving the first weight to the production data factor of 65.55 percent. For the second place, the area selection factor was 12.45 percent; the third place was the value for money factor, 11.00 percent, and the transportation factor was 11.00 percent, respectively. All factors were processed using a hierarchical analysis process to create a model—simulation for choosing the location of a water separation unit in petroleum production. The results of this study serve as a guideline for considering alternatives in creating models for selecting locations for water separation units in further petroleum production.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectFang Basinen_US
dc.subjectAnalytic Hierarchy Processen_US
dc.subjectWeight Score of Location Selection Factors for Water Separation Uniten_US
dc.subjectลุ่มแอ่งฝางen_US
dc.subjectคะแนนน้ำหนักen_US
dc.subjectแหล่งผลิตแม่สูนen_US
dc.titleคะแนนน้ำหนักของปัจจัยในการเลือกที่ตั้งหน่วยแยกน้ำในกระบวนการผลิตปิโตรเลียมที่แหล่งผลิตแม่สูน ลุ่มแอ่งฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยกระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นen_US
dc.title.alternativeWeight score of location selection factors for water separation unit in petroleum production process at Mae Sun, Fang Basin, Chiang Mai Province using analytic hierarchy processen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashปิโตรเลียม -- ฝาง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashปิโตรเลียม -- การสำรวจ-
thailis.controlvocab.thashปิโตรเลียม -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashปิโตรเลียม -- การกลั่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแหล่งผลิตปิโตรเลียมลุ่มแอ่งฝางเป็นแหล่งน้ำมันดิบบนบกแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินการสำรวจและผลิตโดยศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร เพื่อเป็นการรองรับการผลิตที่มากขึ้นในแหล่งผลิตแม่สูน การศึกษานี้ได้ใช้การประยุกต์โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น เพื่อสร้างคะแนนน้ำหนักของปัจจัยในการเลือกที่ตั้งหน่วยแยกน้ำในการผลิตปิโตรเลียมโดยกระบวนการแยกน้ำเป็นกระบวนการที่สำคัญก่อนทำการกลั่นน้ำมันดิบในกระบวนการกลั่นน้ำมันดิบ ดังนั้นการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างคะแนนน้ำหนักของปัจจัยในการเลือกที่ตั้งหน่วยแยกน้ำในการผลิตปิโตรเลียม แหล่งผลิตแม่สูน ลุ่มแอ่งฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สำหรับใช้ในการประเมินการเพื่อสร้างคะแนนน้ำหนักของปัจจัยในการเลือกที่ตั้งหน่วยแยกน้ำในการผลิตปิโตรเลียม จากการศึกษารวบรวมค้นคว้าข้อมูล และแบบสอบถามสัมภาษณ์ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญด้านปิโตรเลียม โดยมีทฤษฎีกระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process) และการประเมินตัวคูณและค่าคะแนนความสำคัญของปัจจัย เพื่อจัดลำดับของปัจจัย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีความสำคัญสร้างแบบจำลองสำหรับการเลือกที่ตั้งหน่วยแยกน้ำในการผลิตปิโตรเลียมประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ปัจจัยและปัจจัยรอง 15 ปัจจัย โดยผู้เชี่ยวชาญให้น้ำหนักปัจจัยของข้อมูลการผลิต ร้อยละ 65.55 เป็นอันดับแรก สำหรับอันดับที่ 2 ปัจจัยในการเลือกพื้นที่ ร้อยละ12.45 อันดับที่3 ปัจจัยความคุ้มค่า ร้อยละ 11.00 และ ปัจจัยการขนส่ง ร้อยละ 11.00 ตามลำดับ โดยปัจจัยทั้งหมดถูกนำไปประมวลผลด้วยกระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นเพื่อสร้างคะแนนน้ำหนักของปัจจัยในการเลือกที่ตั้งหน่วยแยกน้ำในการผลิตปิโตรเลียม โดยผลการศึกษาสามารถเป็นแนวทางการพิจารณาทางเลือกในการสร้างคะแนนน้ำหนักของปัจจัยในการเลือกที่ตั้งหน่วยแยกน้ำในการผลิตปิโตรเลียมต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
นราธร อุปทอง 650632001.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.