Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuraphol Sreshthaputra-
dc.contributor.advisorSangtiwa Suriyong-
dc.contributor.authorVisoda Souvannasanhen_US
dc.contributor.otherNathitakarn Phayakka-
dc.date.accessioned2024-09-23T10:29:51Z-
dc.date.available2024-09-23T10:29:51Z-
dc.date.issued2567-08-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80061-
dc.description.abstractThis research has the objectives: 1) to study basic personal information, economics, society and some coffee production conditions of farmers; 2) to analyze factors related to knowledge and practices in coffee production. of farmers 3) To study the problem, farmers' needs and suggestions for coffee production. The sample used in the research is coffee producing farmers in Pak Chong District, Champasak Province Lao People's Democratic Republic, 172 people using simple random sampling using a random number table. Data was collected using interviews between November - December 2023 Statistics used to analyze the data include descriptive statistics, including frequency, percentage, maximum, minimum, standard deviation. and use the reference statistic, namely multiple regression analysis The results of the study found that 68.00 percent of farmers were male, with an average age of 43.57 years, and had completed primary school. There is an average number of workers in the household of 4.046 people, an average coffee growing area of 12.45 rai, an average coffee production per rai of 1,427.72 kg, and an average net income from coffee production per rai of 31,409.86 baht. Almost all farmers do not receive information or do not. receive training on coffee production. Overall, farmers have a moderate level of knowledge in coffee production and a high level of practice. The results of the hypothesis testing found that knowledge of coffee production among farmers had a positive and statistically significant relationship (P<0.05) with gender, age In terms of coffee production practices of farmers, there is a positive and statistically significant relationship (P<0.05) with age, hired labor, own area while net income from average coffee production per rai. There is a negative relationship with the practice. Research also found that most farmers face problems with diseases and insects. The problem of chemical fertilizer prices rising. The farmers want to organize training to provide knowledge about corrections. Disease and insect problems keep up with events and recommend that relevant agencies have agricultural experts in plant diseases and insects to provide knowledge and recommend methods for preventing and eliminating insects. Therefore, government agencies and related organizations, including agricultural and urban forestry officials in the area, should provide advice and organize training programs to increase understanding of disease and insect management in coffee cultivation. This should include instructions on using appropriate prevention and elimination methods. Additionally, these agencies should encourage farmers to use organic fertilizers instead of chemical fertilizers. This approach may help reduce production costs and decrease reliance on purchasing high-priced chemical fertilizers.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรู้และการปฏิบัติในการผลิตกาแฟของเกษตรกรในพื้นที่ราบสูงโบลาเวน อำเภอปากช่อง จังหวัดจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativeFarmers' knowledge and practices of coffee production in Bolaven Plateau, Pak Chong district, Champasak province, Lao People's Democratic Republicen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกาแฟ -- การปลูก -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashกาแฟ -- การผลิต -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- ลาว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ สังคมและสภาพการผลิตกาแฟบางประการของเกษตรกร 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้และการปฏิบัติในการผลิตกาแฟของเกษตรกร 3)เพื่อศึกษาปัญหา ความต้องการและข้อเสนอแนะในผลิตกาแฟของเกษตรกร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เกษตรกรผู้ผลิตกาแฟในอำเภอปากช่อง จังหวัดจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 172 คน และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) โดยใช้ตารางเลขสุ่ม (Random table) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ. 2566 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบปกติ ผลการศึกษา พบว่า เกษตรกรร้อยละ 68.00 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 43.57 ปี สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา มีจำนวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 4.046 คน มีพื้นที่ปลูกกาแฟเฉลี่ย 12.45 ไร่ มีผลผลิตกาแฟเฉลี่ยต่อไร่ 1,427.72 กก และมีรายได้สุทธิจากการผลิตกาแฟเฉลี่ยต่อไร่ 31,409.86 บาท ทั้งนี้เกษตรกรเกือบทั้งหมดไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารและไม่ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการผลิตกาแฟ โดยภาพรวมเกษตรกรมีความรู้ในการผลิตกาแฟระดับปานกลางและมีการปฏิบัติในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความรู้ในการผลิตกาแฟของเกษตรกรมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) กับ เพศ อายุ ในด้านการปฏิบัติในการผลิตกาแฟของเกษตรกรพบความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) กับอายุ แรงงานจ้าง พื้นที่ของตนเองขณะที่รายได้สุทธิจากการผลิตกาแฟเฉลี่ยต่อไร่ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับการปฏิบัติ การวิจัยยังพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านโรคพืชและแมลง ปัญหาปุ๋ยเคมีราคาสูงขึ้น โดยเกษตรกรต้องการการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการแก้ไข ปัญหาเรื่องโรคและแมลง ให้ทันเหตุกาณ์ และเสนอแนะให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีนักวิชาการเกษตรด้านโรคพืชและแมลงเข้ามาให้ความรู้แนะนำวิธีการป้องกันและกำจัดแมลง ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่กสิกรรมและป่าไม้อำเภอในพื้นที่ ควรมีการให้คำแนะนำ จัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้เพื่อเพิ่มความเข้าใจในการจัดการโรคและแมลงในการผลิตกาแฟ รวมถึงการใช้วิธีการป้องกันและกำจัดที่เหมาะสม สนับสนุนให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี ซึ่งอาจช่วยลดต้นทุนในการผลิตและลดการพึ่งพาต่อการซื้อปุ๋ยเคมีที่มีราคาสูงen_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650831045 visoda souvannasan.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.