Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80058
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสิยา นารินทร์ | - |
dc.contributor.advisor | ศิวพร อึ้งวัฒนา | - |
dc.contributor.author | อาทิตยา ฉลองชัยสิทธิ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T10:13:13Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T10:13:13Z | - |
dc.date.issued | 2023-07-30 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80058 | - |
dc.description.abstract | This is a quasi-experimental study with two-group, pretest-posttest design. The study aimed to compare rehabilitation practice scores of family caregivers for intermediate-stage patients with impaired mobility in the community, before and after receiving the empowerment program, and to compare rehabilitation practice scores of family caregivers for intermediate-stage patients with impaired mobility between the group receiving 6-week empowerment program and the group receiving regular care program. There participants were fifty who were family caregivers of intermediate-stage patients with impaired mobility in the community and assigned to an experimental group (n=25) and a control group (n=25). The research was conducted from January to March 2024. The research instruments consisted of 1) the empowerment program that developed by the researcher based on the empowerment theory by Gibson (1995); 2) Media package including a handbook, posters, clip video via group line on rehabilitation practices with the following content; assessment of stiff joints, joint and muscle exercise, and posture arrangement of intermediate-stage patient with impaired mobility in the community and; 3) an observation form for rehabilitation practice for intermediate-stage patients with impaired mobility in the community which was verified for content accuracy by six experts and the content validity index was 0.90 and Cohen’s kappa coefficient was 0.84. The data were analyzed with descriptive statistics, pair t-test, and independent t-test. The results revealed that the experimental group had higher practice scores for intermediate-stage patients with impaired mobility in community than before receiving the empowerment program and higher than those of the control group who receiving the regular program with the statistical significance (p = 0.000). The results revealed that the family caregiver’s empowerment program on rehabilitation practices in intermediate stage patients with mobility impairment in the community can be used as a guideline for community nurse practitioners, care manager and health care teams to empowering family caregivers’ competencies to provide rehabilitation practices in intermediate patients with mobility impairment in the community effectively. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ญาติผู้ดูแล, เสริมสร้างพลังอำนาจ, การปฏิบัติฟื้นฟูสมรรถภาพ, ผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหว | en_US |
dc.subject | Family Caregiver, Empowerment, Rehabilitation Practices, Intermediate patients with Mobility Impairment | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจของญาติผู้ดูแลต่อการปฏิบัติฟื้นฟูสมรรถภาพในผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหวในชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Effects of the family caregivers empowerment program on rehabilitation practices in intermediate patients with mobility impairment in the community | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ป่วย -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ป่วย -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้เป็นแบบกึ่งทดลอง แบบสองกลุ่ม วัดก่อน และหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการปฏิบัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหวในชุมชนของญาติผู้ดูแล ก่อน และหลังได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหวในชุมชน จำนวน 50 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 25 ราย และกลุ่มควบคุม 25 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่าง เดือน มกราคม ถึง มีนาคม พ.ศ. 2567 เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจของกิ๊บสัน (Gibson,1995); 2) สื่อที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรม ประกอบด้วย คู่มือ แผ่นป้ายโปสเตอร์ สื่อวิดีโอผ่านกลุ่มในแอปพลิเคชันไลน์ ประกอบด้วยเนื้อหา การประเมินลักษณะภาวะข้อติดแข็ง การบริหารข้อ และกล้ามเนื้อ และการจัดท่า และ; 3) แบบสังเกตการปฏิบัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหวในชุมชน ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน ได้ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.90 และค่าความเชื่อมั่นค่าสัมประสิทธิ์ Cohen’s Kappa เท่ากับ 0.84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติ pair t-test และ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มทดลองมีคะแนนการปฏิบัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหว สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และสูงกว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.000) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจของญาติผู้ดูแลต่อการปฏิบัติฟื้นฟูสมรรถภาพในผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหวในชุมชน สามารถใช้เป็นแนวทางให้พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ผู้จัดการรายกรณี และบุคลากรสุขภาพนำไปใช้ในการส่งเสริมญาติผู้ดูแลในการปฏิบัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยระยะกลางที่พร่องการเคลื่อนไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641231140 -อาทิตยา-ฉลองชัยสิทธิ์-watermark.pdf | 2.34 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.