Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80040
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑามาศ โชติบาง | - |
dc.contributor.advisor | ฐิติมา สุขเลิศตระกูล | - |
dc.contributor.author | อาภาภรณ์ ธาตุอินจันทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-16T00:37:08Z | - |
dc.date.available | 2024-09-16T00:37:08Z | - |
dc.date.issued | 2024-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80040 | - |
dc.description.abstract | Caregivers’ cooperation in administering inhaled corticosteroids to children with reactive airway disease is crucial for effective disease management in children under 5 years of age. This descriptive correlational study aimed to examine caregivers’ adherence to administration of inhaled corticosteroids to these children and to explore the relationship between caregivers' personal factors, their perceptions of reactive airway disease, and their medication adherence. Methods: The sample consisted of 85 primary caregivers aged 20-60 years, who had been caring for children under 5 years of age with reactive airway disease, for at least 6 months at two private hospitals in Chiang Mai province. Stratified sampling was used between May and June 2024. The research tools included: 1) a personal information questionnaire for caregivers and children with reactive airway disease, 2) a perception questionnaire about reactive airway disease, and 3) a medication adherence questionnaire for children with reactive airway disease. Data were analyzed using descriptive statistics, Spearman's rho correlation, and eta correlation coefficient. The research show that of the 85 caregivers, 51 (60.00%) demonstrated high medication adherence for children with reactive airway disease (\bar{x} = 32.70, S.D = 7.26). There was a positive correlation between caregivers' income and education level and their adherence to medication regimens for children with reactive airway disease (η = .224, p < .01 and η = .256, p < .01, respectively). Additionally, caregivers' awareness of reactive airway disease showed a moderate positive correlation with their adherence to medication (r = .393, p < .01). Furthermore, age and duration of caregiving were found to have a moderate negative correlation with medication adherence among caregivers of children with reactive airway disease, which was statistically significant (r = -.221, p < .05 and r = -.219, p < .05, respectively). The results show that the findings suggest that socioeconomic factors such as income and education, as well as awareness of the condition, positively impact medication adherence, while older age and longer duration of caregiving may negatively affect it. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม | en_US |
dc.title.alternative | Factors related to medical adherence among caregiver of caregivers of children with reactive airway disease | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | หลอดลม -- โรค | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ดูแลเด็ก | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็ก -- โรค | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมเป็นพฤติกรรมที่สำคัญในการควบคุมโรคให้กับเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมที่อายุต่ำกว่า 5 ปี เนื่องจากเด็กในกลุ่มนี้เป็นเด็กเล็กยังต้องพึ่งพาการดูแลจากผู้ดูแล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ดูแล การรับรู้เกี่ยวกับภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมกับความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลหลักอายุตั้งแต่ 20-60 ปี ที่ดูแลผู้ป่วยเด็กภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมอายุต่ำกว่า 5 ปี มาอย่างน้อย 6 เดือน ในโรงพยาบาลเอกชน 2 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 85 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2567 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลและผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม แบบสอบถามการรับรู้เกี่ยวกับภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม และแบบสอบถามความร่วมมือในการใช้ยาพ่นของผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อีต้า ผลการศึกษาพบว่า ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมร้อยละ 60.00 มีความร่วมมือในการใช้ยาอยู่ในระดับมาก (\bar{x} = 32.70, S.D = 7.26) รายได้และระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม (η = .224, p < .01 และ η = .256, p < .01 ตามลำดับ) การรับรู้เกี่ยวกับภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลม (r = .393, p < .01) อายุและระยะเวลาในการดูแลเด็กมีความสัมพันธ์เชิงลบในระดับปานกลางกับความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.221, p < .05 และ r = -.219, p < .05 ตามลำดับ) ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อให้พยาบาลตระหนักถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมและจัดแนวทางการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะภูมิไวเกินของหลอดลมที่ต้องได้รับการรักษาด้วยยาพ่นอย่างต่อเนื่อง | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631231177 อาภาภรณ์ ธาตุอินจันทร์ watermark.pdf | 5.55 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.