Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80025
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Narut Charoensri | - |
dc.contributor.author | Everhart, Eric Benjamin | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-06T00:38:07Z | - |
dc.date.available | 2024-09-06T00:38:07Z | - |
dc.date.issued | 2024-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80025 | - |
dc.description.abstract | Growing competition between the United States and China is quickly becoming a defining feature of the 21st century international system, much like that of the United States and the Soviet Union defined the latter 20th century. Thailand’s deep historical, economic, and political ties to the great powers, and its central position with the Greater Mekong Subregion, make it ripe for an analysis of how great power competition is affecting its foreign policy. This work fills a gap in the existing literature on Thai foreign policy by taking an expansive backward look at nearly two decades of policy actions and reactions by the United States, China, and Thailand to identify patterns across multiple governments. The information gained through a deep reading of primary and secondary sources on Thai policy is then used to determine plausible future outcomes for Thai foreign policy in a continued environment of great power competition. This work establishes a clear pattern of strategic hedging by Thailand that, while frequently impacted by domestic political instability, supports national interests that include economic growth, national security, and the maintenance of a historical independence from foreign powers. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Great Power Competition, Thailand, United States, China, foreign policy | en_US |
dc.title | The effects of great power competition on Thai foreign policy Since 2001 | en_US |
dc.title.alternative | ผลกระทบของการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจต่อนโยบายต่างประเทศของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.lcsh | Thailand -- Foreign policy | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Thailand -- International relations -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Thailand -- International relations -- United States | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้นระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนกำลังกลายเป็นลักษณะเด่นของระบบระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 21 อย่างมีนัยสำคัญ ปรากฏการณ์นี้คล้ายกับที่สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเคยแข่งขันกันในช่วงหลังศตวรรษที่ 20 ความสัมพันธ์อันลึกซึ้งทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ และการเมืองของไทยกับมหาอำนาจ และตำแหน่งศูนย์กลางของไทยกับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ทำให้มีการวิเคราะห์ว่าการแข่งขันกันระหว่างมหาอำนาจจะส่งผลกระทบต่อนโยบายต่างประเทศอย่างไร งานนี้มีเป้าหมายในการเติมเต็มช่องว่างของการศึกษาที่มีอยู่เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของไทย โดยการมองย้อนไปในประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการดำเนินนโยบายและปฏิสัมพันธ์เกือบสองทศวรรษของสหรัฐอเมริกา จีน และไทย เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการดำเนินการระหว่างรัฐบาลของประเทศต่างๆ วิธีการศึกษาของวิทยานิพนธ์นี้คือการอ่านข้อมูลที่ได้รับจากเอกสารชั้นต้นและเอกสารชั้นรองเกี่ยวกับนโยบายไทยอย่างละเอียด โดยวิเคราะห์ความเป็นมาและแนวโน้มของนโยบายต่างประเทศไทยในการแข่งขันมหาอำนาจที่เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง วิทยานิพนธ์นี้ได้วิเคราะห์การป้องกันความเสี่ยงทางยุทธศาสตร์โดยประเทศไทย ซึ่งแม้จะได้รับผลกระทบบ่อยครั้งจากความไม่มั่นคงทางการเมืองในประเทศ แต่การดำเนินนโยบายต่างๆ ของไทยที่ผ่านมาก็สนับสนุนผลประโยชน์ของชาติซึ่งรวมถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงของชาติ และการธำรงไว้ซึ่งเอกราชในอดีตจากมหาอำนาจต่างชาติเอาไว้ได้ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651932061_ ERIC BENJAMIN EVERHART.pdf | 847.81 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.