Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์-
dc.contributor.authorธีรทัศน์ พรหมอยู่en_US
dc.date.accessioned2024-09-02T00:55:34Z-
dc.date.available2024-09-02T00:55:34Z-
dc.date.issued2564-11-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80015-
dc.description.abstractChronic Kidney Disease (CKD) is a complicated disease and burdened public health system. Delaying progression of CKD stage 3-4 to end stage renal disease helps increase quality of life and decrease healthcare costs. Prior studies showed that patients with adequate health literacy could achieve target treatment outcomes in chronic disease. This study aims to investigate an association between health literacy and rapid kidney function decline via medication adherence and health behavior in patients with CKD stage 3-4. A quantitative analytical cross-sectional study was conducted in patients diagnosed with CKD stage 3-4 in the Nephrology Clinic at Bhumibol Adulyadej Hospital, Bangkok, during January 2021 to May 2021. Data were collected by a set of questionnaires, including health literacy questionnaires for CKD stage 3-4, Medication Adherence Scales in Thais, and Health behavior for delaying kidney progression questionnaires. Kidney function data (eGFR) were collected at the time patients were recruited and 1 year was categorized as rapid kidney function decline. The data were analyzed by descriptive statistics, Pearson correlation analysis, Structural Equation Modeling, and multivariable logistic regression.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับอัตราการกรองของไตผ่านความร่วมมือในการใช้ยาและพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4en_US
dc.title.alternativeAssociation between health literacy and kidney functions via medication adherence and health behavior in patients with chronic kidney disease stage 3-4en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไต -- โรค-
thailis.controlvocab.thashไต -- โรค -- การรักษา-
thailis.controlvocab.thashความรอบรู้ทางสุขภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคไตเรื้อรังเป็นโรคที่ซับซ้อนส่งผลต่อระบบสาธารณสุข การชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 ช่วยลดการเป็นโรคไตวายระยะสุดท้าย เพิ่มคุณภาพชีวิตและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล จากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพส่งผลต่อผลลัพธ์การรักษาตามเป้าหมายในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับอัตราการกรองของไตลดลงอย่างรวดเร็วในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 ผ่านตัวแปรคั่นกลาง ได้แก่ ความร่วมมือในการใช้ยา และพฤติกรรมสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อม รูปแบบการวิจัยเป็นแบบภาคตัวขวางเชิงวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 เข้ารับบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม ศูนย์โรคไต โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช จังหวัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือนมกราคม 2564 ถึงเดือนพฤษภาคม 2564 เก็บข้อมูลด้วยแบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพสาหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 แบบวัดความร่วมมือในการใช้ยาสาหรับชาวไทย และแบบวัดพฤติกรรมสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อม ค่าอัตราการกรองของไตเก็บข้อมูลเมื่อเข้าร่วมการวิจัยและเมื่อ 1 ปี ย้อนหลัง (ค่าอัตราการกรองของไตลดลง ≥4 ml/min/1.73m2 หมายถึง อัตราการกรองของไตลดลงอย่างรวดเร็ว) เก็บข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลที่ได้ทาการวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยสถิติพรรณนา การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง และการวิเคราะห์สมการถดถอยโลจิสติกส์en_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621031004 ธีรทัศน์ พรหมอยู่.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.