Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorArratee Ayuttacorn-
dc.contributor.advisorMukdawan Sakboon-
dc.contributor.authorDuong Thi Thu Lanen_US
dc.date.accessioned2024-08-30T00:52:14Z-
dc.date.available2024-08-30T00:52:14Z-
dc.date.issued2024-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80012-
dc.description.abstractThis research investigates the impact of the heritagization process on Co Tu weavers and addresses the challenges they face in preserving their cultural heritage while maintaining their craft traditions. It aims to explore how Co Tu weavers generate affective values through their craft to form and strengthen networks. Additionally, the study examines how these weavers construct their collective identity through implicit activism rooted in their craft production. Ultimately, the goal is to understand the significance and function of traditional hand-weaving in today’s society as a social product experienced and practiced at the grassroots level. To achieve this, the concepts of heritagization, affective economy, and craftivism are used for analysis. I use heritagization to analyze the regulatory impact of designating traditional hand-weaving as a National Intangible Cultural Heritage. This includes examining government conservation methods, management mechanisms, and the involvement of various actors in the process. The affective economy helps to understand the formation of weaving cooperatives and how weavers collaborate with various actors to secure resources and opportunities. It highlights the emotional value weavers circulate to sustain networks and improve socio-economic conditions. Additionally, I employ craftivism to examine the weavers’ purpose, emotions, and methods for strengthening their collective and ethnic identity and how their practices challenge social stereotypes and raise awareness of their traditions. To collect data, I conducted semi-structured interviews with 23 participants, including weavers, community-based tourism representatives, NGOs, and local government officials at various levels. Additionally, I facilitated a focus group discussion with eight weavers and observed their weaving activities and interactions with visitors at the weaving house. I also learned some weaving steps from the weavers to gain deeper insight into their practices. The research reveals that heritagization often prioritizes cultural commodification for tourism which then increases the pressure to produce on an industrial-scale. Despite these challenges, weavers exhibit resilience to safeguard traditional practices and organizational structures through the affective value known as tình cảm. This circulation of affect is a cohesive force binding individuals and communities while also shaping social networks and reinforcing solidarity. Depending on the context and actors involved, tình cảm manifests in various forms, including responsibility, emotional support, social connections, and closeness. The success of these weavers in revitalizing their ethnic identity, empowering women in negotiation, and critiquing governmental efforts underscores their resilience. The study provides insight into the Intangible Cultural Heritage of traditional handicrafts in Vietnam and emphasizes the importance of policies that prioritize community involvement, cultural revitalization, and gender sensitivity. It thus advocates for local development initiatives, revitalization of traditional festivals, recognition of sacred spaces, and awareness of evolving gender roles. Neglecting the local community’s input will risk the adverse effects of prioritizing cultural commodification for tourism.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAffective economy of ethnic Co Tu’s hand-weaving and craftivism in ZoRa Village, Nam Giang District, Quang Nam Province, Vietnamen_US
dc.title.alternativeเศรษฐกิจเชิงอารมณ์ของผ้าทอมือในกลุ่มชาติพันธุ์โคตู และการ เคลื่อนไหวผ่านงานฝีมือในหมู่บ้านโซรา อำเภอนัมเกียง จังหวัดควางนัม ประเทศเวียดนามen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshWeaving -- Vietnam-
thailis.controlvocab.lcshWeavers -- Vietnam-
thailis.controlvocab.lcshIndigenous peoples -- Vietnam-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของกระบวนการทำให้ผ้าทอของชาวโคตู กลายเป็นมรดกของชาติ และความท้าทายที่พวกเขาเผชิญในการรักษามรดกทางวัฒนธรรม ในขณะเดียวกันได้รักษางานฝีมือดั้งเดิมของพวกเขาไว้ การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบว่า ช่างทอชาวโคตู ได้สร้างคุณค่า ทางอารมณ์ผ่านงานฝีมือ เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็งอย่างไร นอกจากนี้ การวิจัยยังศึกษาว่า ช่างทอเหล่านี้สร้างอัตลักษณ์ร่วมกันผ่านการเคลื่อนไหวที่มีรากฐานมาจากการผลิตงานฝีมือ อย่างไร เป้าหมายสำคัญของงานวิจัยอีกประการคือ การเข้าใจความสำคัญและหน้าที่ของการทอมือแบบดั้งเดิม ในสังคมปัจจุบัน ในฐานะผลิตภัณฑ์ทางสังคมที่เกิดจากประสบการณ์และฝึกฝน ในระดับรากหญ้า โดยใช้แนวคิดเรื่องการกลายเป็นมรดก เศรษฐกิจอารมณ์ และการเคลื่อนไหวผ่านงานฝีมือในการวิเคราะห์ ผู้วิจัยใช้แนวคิกการกลายเป็นมรดก เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบด้านกฎระเบียบ ในการกำหนดให้ การทอมือแบบดั้งเดิมเป็นมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติที่จับต้องไม่ได้ ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบ วิธีการอนุรักษ์ของรัฐบาล กลไกการจัดการ และการมีส่วนร่วมของผู้กระทำการต่างๆ ส่วนแนวคิดเศรษฐกิจเชิงอารมณ์ ช่วยให้เข้าใจการก่อตั้งสหกรณ์การทอผ้า และวิธีที่ช่างทอร่วมมือกับผู้กระทำการอื่นเพื่อรักษาทรัพยากรและโอกาส โดยเน้นย้ำถึงคุณค่าทางอารมณ์ ที่ช่างทอผ้าสื่อสารกันเพื่อรักษาเครือข่าย และสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ ผู้วิจัยใช้แนวคิดการเคลื่อนไหวผ่านงานฝีมือ ในการวิเคราะห์อารมณ์และวิธีการของช่างทอผ้าในการเสริมสร้างเอกลักษณ์โดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ รวมทั้งปฏิบัติการของพวกเขาที่ท้าทายทัศนคติแบบเหมารวมทางสังคม และสร้างความตระหนักรู้ในประเพณีดั้งเดิม งานวิจัยนี้รวบรวมข้อมูลโดยสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง กับผู้ให้ข้อมูล 23 คน ซึ่งเป็นช่างทอผ้า ผู้แทนของการท่องเที่ยวในชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชน และเจ้าหน้าที่รัฐบาลท้องถิ่นในระดับต่างๆ นอกจากนี้ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากการสนทนากลุ่มกับช่างทอ 8 คน อีกทั้งทำการสังเกตการณ์แบบมีส่วนรวม โดยการร่วมกิจกรรมการทอผ้าและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้มาเยี่ยมชมโรงทอผ้าในชุมชน ผู้วิจัยยังได้เรียนรู้ขั้นตอนการทอผ้าจากช่างทอ เพื่อทำความเข้าใจปฏิบัติการของพวกเขาให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ผลการวิจัยพบว่าการกลายเป็นมรดกแห่งชาติ มักจะให้ความสำคัญของการแปลงวัฒนธรรมให้เป็นสินค้า สำหรับการท่องเที่ยว ซึ่งจะเพิ่มความกดดันให้เกิดการผลิตในระดับอุตสาหกรรม ถึงแม้ว่าจะมีความท้าทายเหล่านี้ ช่างทอผ้าได้แสดงความยืดหยุ่นในการรักษาแนวทางปฏิบัติ และโครงสร้างองค์กรแบบดั้งเดิม ผ่านคุณค่าทางอารมณ์ ที่เรียกว่า tình cảm ซึ่งการสื่อสารทางอารมณ์นี้เป็นพลังที่เหนียวแน่นซึ่งผูกพันบุคคลและชุมชนเข้าด้วยกัน ในขณะเดียวกันได้สร้างเครือข่ายทางสังคม และเสริมสร้างความสามัคคี tình cảm สามารถแสดงออกในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ความรับผิดชอบ การสนับสนุนทางอารมณ์ ความเชื่อมโยงทางสังคม และความใกล้ชิด ขึ้นอยู่กับบริบทและผู้กระทำการที่เกี่ยวข้อง ความสำเร็จของช่างทอผ้าเหล่านี้ ในการฟื้นฟูอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ การเพิ่มขีดความสามารถ ของสตรีในการเจรจาต่อรอง และความพยายามในการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล เป็นการตอกย้ำถึงความยืดหยุ่นของพวกเขา การศึกษานี้ให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้ของงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมในเวียดนาม และเน้นย้ำถึงความสำคัญของนโยบาย ที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน การฟื้นฟูวัฒนธรรม และความอ่อนไหวทางเพศสภาพด้วยเหตุนี้ รัฐควรสนับสนุนความคิดริเริ่มของท้องถิ่นในการพัฒนา การฟื้นฟูเทศกาลตามประเพณี การยอมรับพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ และการตระหนักถึงบทบาททางเพศสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป การละเลยความคิดเห็นของชุมชนท้องถิ่น มีความเสี่ยงต่อผลกระทบที่เกิดจากการให้ความสำคัญแก่สินค้าทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640435805 Duong Thi Thu Lan (W).pdf6.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.