Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKasara Sripichyakan-
dc.contributor.advisorPimpaporn Klunklin-
dc.contributor.advisorNantaporn Sansiriphun-
dc.contributor.authorJatuporn Tantanokiten_US
dc.date.accessioned2024-08-20T11:10:14Z-
dc.date.available2024-08-20T11:10:14Z-
dc.date.issued2024-05-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79989-
dc.description.abstractExposure to harmful substances during pregnancy may result in potential short and long term anomalies to the unborn baby. However, there is no exploration of the perspectives of pregnant women on this issue. This phenomenological study aimed to gain an in-depth understanding of the experiences of pregnant women in avoiding harmful substances in their everyday life. Between July 2019 and May 2020, data were collected from 17 pregnant women living in Nakorn Si Thammarat Province through in-depth interviews and reflexive journals. An interpretive process based on Cohen, Kahn, and Steeves (2000) was used for data analysis. Trustworthiness was achieved through member checking and peer debriefing. Four themes emerged from the informants’ experiences. Theme 1. Contextual sense of harmful substances: Informant understanding of harmful substances based on their personal context was grouped into the following 4 categories: 1) low, moderate, high, and false recognition of harmful substances; 2) categorizing harmful substances as a chemical/synthetic/unnatural group and a miscellaneous group; 3) justification of harms based on harmful characteristics, direct exposure and transmission, exposure magnitude, elimination and accumulation, vulnerable period, and body’s defense mechanism; and 4) sources for justifying harms from oneself and obtained information. Theme 2. The fundamentals of SIX: The practices and barriers to avoiding harmful substances included: 1) six practices of choosing, eliminating, ceasing, reducing, distancing, and using equipment; and 2) six barriers of non-recognition, working obligation, residence location, sharing household products/food and family tradition, unavailability of safe substances, and non-compliance with equipment usage. Theme 3. Safety in daily activities: The practices to achieve safety in 4 main daily activities: 1) safety in personal/household products usage; 2) food safety; 3) work safety; and 4) air quality safety. Theme 4. Overcoming challenges: Challenges in avoiding harmful substances were overcome through: 1) personal changes including being more careful, making efforts, sacrificing, enduring, and relying on maternal instinct; 2) obtaining non-professional support, needing more professional support; and 3) ensuring safety with regards to maternal mind and fetal well-being. In conclusion, pregnant women were concerned about harmful substances but not all harmful substances were well recognized and avoided due to some barriers. Pregnant women have their own ways of preventing exposure to harmful substances. The findings can be used as basic information for developing guidelines in helping pregnant women reduce exposure to harmful substances by tailoring them to pregnant women’s perspectives and lifestyles, leading to improved quality of nursing care practice.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleExperiences of pregnant women in avoiding harmful substancesen_US
dc.title.alternativeประสบการณ์ของสตรีตั้งครรภ์ในการหลีกเลี่ยงสารที่เป็นอันตรายen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashPregnant women -- Nakorn Si Thammarat-
thailis.controlvocab.thashPregnancy -- Complications-
thailis.controlvocab.thashChemicals -- Prevention-
thailis.controlvocab.thashPollutants -- Prevention-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการได้รับสารอันตรายในระยะตั้งครรภ์อาจจะนำมาซึ่งความผิดปกติของทารกในครรภ์ได้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว อย่างไรกตามยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับมุมมองของสตรีตั้งครรภ์ในประเด็น การวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับประสบการณ์ของสตรีตั้งครรภ์ในการหลีกเลี่ยงสารอันตรายในชีวิตประจำวัน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสตรีตั้งครรภ์ 17 รายที่อยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2562 ถึง เดือนพฤษภาคม 2563 โดย การสัมภาษณ์เชิงลึกและการบันทึกสะท้อนคิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ตามหลักการ ของ โคเฮน, คาฮ์น, และ สตีฟว์ (2543) สร้างความน่าเชื่อถือได้ของการวิจัยด้วยการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากสตรีผู้ให้ข้อมูลและการประชุมปรึกษาร่วมกับคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยพบว่ามประเด็นที่ได้จากประสบการณ์ของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 4 ประเด็น ประเด็นที่ 1. ความเข้าใจเชิงบริบทเกี่ยวกับสารอันตราย เป็นความเข้าใจตามบริบทของผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสารอันตรายใน 4 หมวดหมู่คือ 1) การตระหนักรู้ในระดับต่ำ ปานกลาง สูง และไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสารอันตราย 2) การจัดหมวดหมู่ของสารอันตรายเป็นกลุ่มสารเคมี/สังเคราะห์/ไม่ธรรมชาติ และกลุ่มเบ็ดเตล็ด 3) การพิจารณาว่าเป็นอันตรายจากคุณลักษณะที่แสดงว่าอันตราย การสัมผัสโดยตรงและการส่งผ่าน ความมากน้อยของการได้รับสารการขจัดและการสะสมช่วงเวลาเปราะบาง และกลไกการป้องกันของร่างกาย และ 4) แหล่งสำหรับพิจารณาการเกิดอันตราย มาจากตนเองและข้อมูลที่ได้รับ ประเด็นที่ 2. หลักพื้นฐาน 6 ประการ เป็นการปฏิบัติและอุปสรรคในการหลีกเลี่ยงสารที่เป็นอันตราย ประกอบด้วย 1) การปฏิบัติ 6 ประการ ได้แก่ การเลือก การกำจัด การหยุด การลด การออกห่าง และการใช้อุปกรณ์ป้องกัน และ 2) อุปสรรค 6 ประการ ได้แก่ การไม่ตระหนักรู้ ความจำเป็นในการปฏิบัติงาน สถานที่อยู่อาศัย วิถีร่วมกันของครอบครัวในการใช้ผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนและประเพณีของครอบครัว การไม่มีสารที่ปลอดภัย และการไม่ใช้อุปกรณ์ ประเด็นที่ 3. ความปลอดภัยของกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เป็นการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำ 4 กิจกรรมหลักในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ 1) การใช้ผลิตภัณฑ์ส่วนบุคคลและผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนที่ปลอดภัย 2) อาหารปลอดภัย 3) การทำงานปลอดภัย และ 4) ความปลอดภัยในคุณภาพของอากาศ ประเด็นที่ 4. การเอาชนะความท้าทาย เป็นการเอาชนะความท้าทายในการหลีกเลี่ยงสารที่เป็นอันตราย โดย 1) การปรับเปลี่ยนตนเอง ประกอบด้วย การระมัดระวัง การใช้ความพยายาม การเสียสละ การอดทน และการใช้สัญชาตญาณความเป็นแม่ 2) การได้รับการสนับสนุนจากคนทั่วไป ซึ่งยังต้องการ ได้รับการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญมากขึ้น และ 3) การสร้างความมั่นใจในความปลอดภัยด้านจิตใจของมารดาและความปลอดภัยด้านความผาสุกของทารกในครรภ์ โดยสรุปแล้ว สตรีตั้งครรภ์มีความห่วงใยในเรื่องสารอันตรายแต่ยังขาดการตระหนักรู้เป็นอย่างดี ในสารอันตรายทุกชนิด ตลอดจนยังไม่สามารถหลีกเลี่ยงสารอันตรายได้เนื่องจากมีอุปสรรค สตรีตั้งครรภ์ มีวิถีทางของตนเองในการป้องกันตนเองจากการได้รับสารอันตราย ผลการวิจัยนเป็นข้อมูลพื้นฐาน สำหรับการพัฒนาแนวปฏิบัตในการช่วยให้สตรีตั้งครรภ์ลดการสัมผัสสารอันตรายที่สอดคล้องกับ มุมมองและวิถีชีวิตของสตรีตั้งครรภ์ อันจะนำไปสู่การปฏิบัติการพยาบาลที่ได้คุณภาพ-
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591251001 จตุพร ตันตะโนกิจ.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.