Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารณ์ ทองงอก-
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.authorคณัญญา ชมประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2024-08-07T10:02:16Z-
dc.date.available2024-08-07T10:02:16Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79950-
dc.description.abstractThis independent study aimed to 1) study the conditions and problems of internal supervision to promote teachers’ innovative learning management at Srinehru school, Chiangmai province. 2) study the best practices of internal supervision to promote teachers’ innovative learning management in excellent educational institutions. 3) prepare and examine for guidelines for internal supervision to promote teachers’ innovative learning management at Srinehru school, Chiangmai province. The researcher divided the study into 3 steps: 1) study the conditions and problems of internal supervision to promote teachers’ innovative learning management at Srinehru school, Chiangmai province. The target group was specifically selected, including the administrator of Srinehru school, 1 person, and the total teachers of Srinehru school, 11 people, totaling 12 people. 2) study the best practices of internal supervision to promote teachers’ innovative learning management in excellent educational institutions. Educational institution administrators and teachers, academic administration group leaders from educational institutions that have best practices (Best ractices), totaling 6 people. 3) prepare and examine for guidelines for internal supervision to promote teachers’ innovative learning management at Srinehru school, Chiangmai province. The tools used in the study include an in-depth interview and guidelines check form. The following were the findings of the study: 1) Conditions and problems of internal supervision operations to promote the development of innovative learning management for teachers at Sri Nehru School, Chiang Mai Province, found that the school does not have a process for surveying problems and needs. Lack of process for prioritizing problems. There is no process for determining alternatives that are consistent with the problem and needs. There is a lack of clarity in the designation of working groups and the determination of roles and responsibilities in supervising the development of teachers' use of learning management innovations. Insufficient allocation of resources. There is no process for selecting works that are examples. There was no assessment of the satisfaction of the supervisors and those receiving supervision. In addition, there were no conclusions or recommendations given to the relevant parties regarding the guidelines for following up and the lack of monitoring and evaluation of dissemination. Expand the results of developing innovative learning management for teachers. 2) Guidelines for internal supervision to promote the development of innovative learning management for teachers from educational institutions with excellent practices found that educational institution administrators, Academic Head teachers, and teachers should jointly analyze information about the problems and needs of teachers in educational institutions by using a questionnaire as a tool. Creating guidelines for prioritizing will help increase efficiency in planning and lead to the creation of a plan that sets guidelines that are consistent with the development of the use of innovations that are consistent with the problems and needs of teachers in educational institutions. 3) Guidelines for internal supervision to promote the development of innovative learning management for teachers at Sri Nehru School. Chiang Mai Province consists of 10 guidelines found to be accurate, appropriate, and feasible at the high level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนศรีเนห์รู จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for internal supervision to promote teachers’ innovative learning management at Srinehru School, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนศรีเนห์รู-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการนิเทศการศึกษา -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหา การดำเนินงาน การนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนศรีเนห์รู จังหวัดเชียงใหม่ 2) ศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศของแนวทางการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูจากสถานศึกษาที่เป็นเลิศ 3) จัดทำและตรวจสอบแนวทางการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนศรีเนห์รู จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนศรีเนห์รู จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมายเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนศรีเนห์รู จำนวน 1 คน คณะครูทั้งหมดโรงเรียนศรีเนห์รู จำนวน 11 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 12 คน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศของแนวทางการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ของครูจากสถานศึกษาที่เป็นเลิศ กลุ่มเป้าหมายเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหัวหน้ากลุ่มบริหารงานฝ่ายวิชาการจากสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ จำนวน 6 คนขั้นตอนที่ 3 การจัดทำและตรวจสอบแนวทางการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนศรีเนห์รู จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบตรวจสอบแนวทาง ผลการศึกษา พบว่า 1. สภาพและปัญหาการดำเนินงานการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนศรีเนห์รู จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า โรงเรียนไม่มีกระบวนการสำรวจปัญหาและความต้องการ ขาดกระบวนการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ไม่มีกระบวนการในการกำหนดทางเลือกที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ ขาดความชัดเจนในการกำหนดคณะทำงานและการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการนิเทศพัฒนาการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู การจัดสรรทรัพยากรไม่เพียงพอ ไม่มีกระบวนการคัดเลือกผลงานที่เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติที่ดี ไม่มีการประเมินความพึงพอใจของผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ นอกจากนี้ ยังไม่มีการให้ข้อสรุปและข้อเสนอแนะฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับแนวทางการในการติดตาม และขาดการติดตามประเมินผล การเผยแพร่ ขยายผลด้านการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู 2. แนวทางการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูจากสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ครูหัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครูควรร่วมกันทำการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการของครูในสถานศึกษาโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และจัดทำแนวทางการจัดลำดับความสำคัญจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนและนำไปสู่การจัดทำแผนการกำหนดแนวทางที่สอดคล้องกับการพัฒนาการใช้นวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของครูในสถานศึกษา 3. แนวทางการนิเทศภายในเพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนศรีเนห์รู จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 10 แนวทาง พบว่า มีความถูกต้อง ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ในระดับมากและมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232056 คณัญญา ชมประเสริฐ.pdf10.25 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.