Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79949
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sate Sampattagul | - |
dc.contributor.advisor | Nivit Charoenchai | - |
dc.contributor.advisor | Komgrit Leksakul | - |
dc.contributor.advisor | Poti Chaopaisarn | - |
dc.contributor.author | Kannika Jarernwong | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-06T10:34:55Z | - |
dc.date.available | 2024-08-06T10:34:55Z | - |
dc.date.issued | 2024-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79949 | - |
dc.description.abstract | The continuous air pollution crisis, especially fine particulate matter (PM2.5), poses a significant challenge annually, with the Chiang Mai province being identified as one of the areas with the highest levels of air pollution worldwide. The health implications of PM2.5 exposure spanning from immediate to long-term effect, causing various diseases including cardiovascular diseases, asthma, chronic bronchitis, chronic obstructive pulmonary disease, ischemic heart disease, stroke, and lung cancer. Moreover, a relationship between rising PM2.5 levels and the worsening of health risks, including increased disease incidence and mortality. Additionally, impact of air pollution related human health also carries economic significance such as the expenditures at diminishing the risk of diseases from pollution exposure, and the costs associated with treating related diseases. Regarding the continuous PM2.5 issue, which inquiring to resolve, and the consistent exposure of the population to pollution levels that exceed air quality standards annually. It is essential to develop strategies for both the prevention and management of immediate impacts. The shortage of action or strategies to tackle the health effects of PM2.5 highlights the critical need for an economic impact assessment. Such an assessment is imperative to realize the effects on public health, facilitate accurate forecasts, and develop effective strategies for prompt and efficient responses to the impact of PM2.5 pollution. This study aims to develop a model that forecasts PM2.5 concentration trends utilizing the gray model, aimed at predicting future PM2.5 levels. The economic assessment of the health impacts occurring from PM2.5 exposure is also included in this study. Additionally, the purpose is to establish an extrapolation model to estimate the cost of damages resulting from heightened PM2.5 levels. This study focuses on Chiang Mai Province, utilizing secondary data sourced from the province. PM2.5 concentration measurements were obtained from the DustBoy monitoring system. Health impact data, including the number of hospital visits and treatment costs for various diseases, were collected from the Chiang Mai Provincial Public Health Office. The research encompassed an investigation into all causes of respiratory and cerebrovascular diseases, conjunctivitis, dermatitis, and lung cancer, categorizing these conditions according to the ICD-10 classification. The findings of this study indicate that PM2.5 exposure incurs substantial health-related economic costs in Chiang Mai province, totaling about 2,989 million baht each year. The breakdown of damage cost due to various health issues reveals all-cause respiratory diseases costing 2,449-million-baht, all-cause cardiovascular diseases at 343-million-baht, conjunctivitis at 95-million-baht, dermatitis also at 85 million baht, and lung cancer at 16 million baht annually. These figures highlight the significant economic burden of medical treatments necessitated by PM2.5 pollution. Additionally, the study finds that each 1 µg/m3 increase in PM2.5 concentration above the Pollution Control Department's recommended standard of 15 µg/m3 results in an additional economic cost of 149 million baht, emphasizing the financial implications of incremental increases in PM2.5 pollution. Moreover, the outcomes of the PM2.5 exposure effects analysis were illustrated through a spatial distribution map, clearly identifying risk areas within each district of Chiang Mai province. This approach enhances the understanding of pollution impact across different areas. This research offers valuable insights and information for public health and policymakers, aiding in the strategic allocation of resources, including healthcare personnel, medical equipment, and medications, to effectively manage health issues. Additionally, it supports the identification and prioritization of high-risk areas, enabling informed decision-making on the allocation of budgets to cover expenses during periods of rapid increases in PM2.5 dust concentration levels. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Extrapolation of human health damage cost from particulate matter 2.5 exposure in Chiang Mai province using grey model | en_US |
dc.title.alternative | การประมาณค่านอกช่วงของมูลค่าความเสียหายต่อสุขภาพมนุษย์จากการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กในจังหวัดเชียงใหม่โดยใช้เกรย์โมเดล | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Dust -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Air -- Pollution -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Respiratory organs -- Diseases | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Value | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัญหาสถานการณ์มลพิษทางอากาศหรือฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) เป็นปัญหาที่ต้องเผชิญ ในทุกๆ ปี โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ถูกจัดอันดับให้เป็นจังหวัดที่ประสบกับมลพิษทางอากาศที่มีระดับค่าความความเข้มข้นของมลพิษมากที่สุดในโลก ซึ่งการรับสัมผัสกับฝุ่นละอองขนาดเล็กส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆเช่น โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคหอบหืด โรคหลอดลมอักเสบ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และมะเร็งปอด เป็นต้น ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงของระดับความเข้มข้น PM2.5 มีความสัมพันธ์กับความเสียหายทางด้านสุขภาพจากการรับสัมผัสกับ ฝุ่นละออง ยิ่งระดับความเข้มข้นของ PM2.5 ที่สูงมากขึ้นยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต อย่างไรก็ตามยังส่งผลต่อเนื่องไปยังมูลค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การใช้จ่ายเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากการรับสัมผัสกับฝุ่นละออง การใช้จ่ายในการป้องกันการสัมผัสฝุ่น ค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค เป็นต้น เนื่องจากปัญหาฝุ่นควันอาจจะแก้ไขยากและประชากรยังต้องเผชิญกับมลพิษฝุ่นละออง PM2.5 ที่เกินกว่าค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในทุกๆปี จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวางแผนในการป้องกันและรับมือกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นรวมถึงผลกระทบทางด้านอื่นๆที่จะตามมา แต่เนื่องจากปัจจุบันนี้ยังไม่มีมาตรการหรือแผนการในการรับมือกับปัญหาด้านสุขภาพที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้ ดังนั้นจึงต้องมีการ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดกับสุขภาพของมนุษย์ออกมาในเชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อจะใช้ในการคาดการณ์ หรือวางแผนตั้งรับกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ทันท่วงที ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีจุดประสงค์ที่จะสร้างแบบจำลองการสำหรับพยากรณ์แนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กโดยใช้เกรย์โมเดล เพื่อนำไปใช้ในการคาดการณ์ปริมาณของการเกิด ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ในอนาคต อีกทั้งประเมินความเสียหายทางด้านเศรษฐศาสตร์จากผลกระทบทางด้านสุขภาพในการรับสัมผัสกับฝุ่นละอองขนาดเล็ก และสร้างโมเดลคาดการณ์สำหรับประเมินมูลค่าที่สูญเสียจากการเพิ่มขึ้นของฝุ่นละออง PM2.5 งานวิจัยนี้ศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และเก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิของจังหวัดเชียงใหม่ โดยในขั้นตอนการพยากรณ์และพัฒนาแบบจำลองพยากรณ์แนวโน้มของปริมาณฝุ่นใช้ข้อมูลปริมาณความหนาแน่นฝุ่นจากเครื่องตรวจวัด DustBoy ในส่วนของขั้นตอนการประเมินและพัฒนาโมเดลคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพและเศรษฐกิจ ใช้ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ จำนวนผู้ป่วยและค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค และศึกษาในกลุ่มโรคทางเดินหายใจ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง กลุ่มโรคตาอักเสบ กลุ่มโรคผิวหนัง และโรคมะเร็ง อ้างอิงกลุ่มโรคตาม ICD-10 จากผลการประเมินผลกระทบจากการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กในงานวิจัยนี้พบว่า ฝุ่นละอองขนาดเล็กส่งผลต่อการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจในด้านการรักษาโรคมากถึง 2,989 ล้านบาทต่อปี โดยแบ่งเป็นต้นทุนการสูญเสียจากกลุ่มโรคทางเดินหายใจ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มโรคตาอักเสบ โรคผิวหนัง และโรคมะเร็งเป็นมูลค่า 2,449 ล้านบาท, 343 ล้านบาท, 95 ล้านบาท, 85 ล้านบาท, และ 16 ล้านบาทต่อปี ตามลำดับ และการเพิ่มขึ้นของปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กจากค่ามาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษกำหนด (15 µg/m3) ทุกๆ 1 µg/m3 ส่งผลต่อการสูญเสียมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น 149 ล้านบาท นอกจากนี้ในส่วนของการผลวิเคราะห์ผลกระทบจากการรับสัมผัสกับฝุ่นละอองได้นำเสนอในรูปแบบแผนที่ความเสี่ยงเพื่อแสดงระดับผลกระทบในแต่ละอำเภอในจังหวัดเชียงใหม่ได้ชัดเจนมากขึ้น ผลของงานวิจัยนี้คาดว่าจะเป็นข้อมูลที่ช่วยให้หน่วยงานหรือสาธารณสุขสามารถจัดสรรบุคลากร อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือยารักษา ให้เพียงพอต่อการเจ็บป่วยที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้น สามารถลำดับความสำคัญหรือจัดการพื้นที่เสี่ยง และจัดสรรงบประมาณในการรองรับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในช่วงที่ระดับความเข้มข้นของฝุ่นละออง PM2.5 เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610651015-KANNIKA JARERNWONG.pdf | 3.03 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.