Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79944
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุบัน พรเวียง | - |
dc.contributor.advisor | มนต์นภัส มโนการณ์ | - |
dc.contributor.author | ธนกร จินะโกฎ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-05T12:18:30Z | - |
dc.date.available | 2024-08-05T12:18:30Z | - |
dc.date.issued | 2024-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79944 | - |
dc.description.abstract | A Study of Guidelines for Student Affairs Management for Sustainable Waste Management of Thasala School, Chiang Mai Province aimed to: 1) Study the current state of Student Affairs Management for waste management at Thasala School, Chiang Mai Province. 2) Develop practical guidelines for student affairs management for sustainable waste management at Thasala School, Chiang Mai Province. And 3) Evaluate the effectiveness of the implemented sustainable waste management practices at Thasala School, Chiang Mai Province. The study employed a three-step approach. 1) Investigating current student affairs management for waste management conditions: Data on waste management practices were collected from 142 purposive samples on school administrators, teachers, and parents of students at Thasala School using questionnaires. The data were analyzed using frequency, percentage, mean, and standard deviation. 2) Developing Student Affairs Management for Sustainable Waste Management Guidelines: Interviews were conducted with five administrators or teachers responsible for waste management at the school. The collected data were analyzed using content analysis. And 3) Evaluating student affairs Management for sustainable waste management practices: An assessment form for sustainable waste management practices was developed and administered to 30 experts and stakeholders. The data were analyzed using averages and standard deviation to evaluate the suitability, feasibility, and usefulness of the developed guidelines. The results of this study found that: 1) The overall student affairs aanagement for waste management condition at Thasala School was moderate. When considering each aspect of waste management practices, reuse ranked the highest, followed by reduction and recycling, respectively. 2) A total of guidelines for Student affairs management for sustainable waste management of Thasala School, Chiang Mai Province has 30 approaches. And 3) The evaluation confirmed that the developed guidelines were suitable, feasible, and beneficial for implementation. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการบริหารกิจการนักเรียนเพื่อการจัดการขยะอย่างยั่งยืนของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for student affairs management for sustainable waste management of Thasala School, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนท่าศาลา | - |
thailis.controlvocab.thash | ขยะและการกำจัดขยะ | - |
thailis.controlvocab.thash | การพัฒนาแบบยั่งยืน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารกิจการนักเรียนเพื่อการจัดการขยะของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อจัดทำแนวทางการบริหารกิจการนักเรียนเพื่อจัดการขยะอย่างยั่งยืนของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อประเมินแนวทางการบริหารกิจการนักเรียนเพื่อจัดการขยะอย่างยั่งยืนของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ วิธีดำเนินการศึกษาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ศึกษาสภาพการบริหารกิจการนักเรียนเพื่อจัดการขยะของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ จากผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนท่าศาลา รวมทั้งสิ้น 142 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) จัดทำแนวทางการบริหารกิจการนักเรียนเพื่อจัดการขยะอย่างยั่งยืนของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ จากผู้บริหารหรือครูผู้รับผิดชอบงานด้านการบริหารจัดการขยะ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และ 3) การประเมินแนวทางการบริหารกิจการนักเรียนเพื่อจัดการขยะอย่างยั่งยืนของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ โดยการตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของแนวทางฯ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบประเมินแนวทางการบริหารกิจการนักเรียน เพื่อจัดการขยะอย่างยั่งยืนของโรงเรียนท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ จากผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวมทั้งสิ้น 30 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการบริหารฯ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้าน Reuse (การใช้ซ้ำ) รองลงมาได้แก่ Reduce (การลดการใช้) และ Recycle (การแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่) ตามลำดับ 2) การจัดทำแนวทางฯ มีทั้งสิ้น 3 ด้าน 30 แนวทาง และ 3) ผลการตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของแนวทางฯ ผ่านการตรวจสอบทุกด้าน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232065 ธนกร จินะโกฎ .pdf | 14.99 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.