Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79933
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Somporn Sungkarat | - |
dc.contributor.advisor | Sirinun Boripuntakul | - |
dc.contributor.author | Wanachaporn Wichayanrat | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-04T07:14:50Z | - |
dc.date.available | 2024-08-04T07:14:50Z | - |
dc.date.issued | 2022-05-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79933 | - |
dc.description.abstract | The number of people with obesity worldwide is constantly on the rise which poses a detrimental impact on public health. Mid-life obesity has been found to be a significant risk factor for dementia in older age. Nonetheless, the impact of obesity on cognitive function is still inconclusive. Metabolic syndrome (MetS) has been suggested to be a risk factor while cardiorespiratory fitness (CRF) has been suggested to be a protective factor for cognitive impairment in older adults. However, studies examining such effects in middle-aged women with obesity are limited. The purposes of this study were to compare cognitive performances between obese and normal weight middle-aged women and examine the effects of MetS and CRF on cognitive performances when combined with obesity. Eighty-seven middle-aged women (58 obese and 29 normal weight, with age and education matched) were recruited in this study. The non-invasive screening method for metabolic syndrome (NIM-MetS) was used to detect MetS. CRF was determined by using maximal oxygen consumption (VO2 max) and was classified as high or low (VO2 max higher or lower than 50th percentile) based on the American College of Sports Medicine’s guidelines. Neurocognitive tests including Montreal Cognitive Assessment (MoCA), digit span (DS), trail making test (TMT), hand reaction time (HRT), logical memory (LM), and semantic verbal fluency test (SVFT) were assessed in all participants. Analysis of covariance (ANCOVA) was used to compare the differences of cognitive outcome measures between the obese and normal weight groups, the obese with and without metabolic syndrome groups, and among normal weight group with high CRF and obese group with high and low CRF. The results showed that the obese group (n = 58) demonstrated significantly lower score in MoCA, DS, TMT, HRT, and LM than the normal weight group (n = 29) (p < 0.05). The obese with MetS subgroup (n = 28) showed significantly lower score in LM than the obese non-MetS subgroup (n = 30) (p = 0.002). Normal weight with high CRF participants (NW-high CRF; n = 28) demonstrated significantly greater score in MoCA and HRT than obese with high CRF participants (OB-high CRF; n = 24) (p < 0.05), and demonstrated better score in MoCA, DS, TMT, HRT, and LM than obese with low CRF participants (OB-low CRF; n = 24) (p < 0.05). OB-high CRF showed significantly greater score in DS, TMT and LM than OB-low CRF (p < 0.05). The findings of this study demonstrated that obesity has a negative impact on several cognitive performances, which memory appears to be further affected when paired with MetS. CRF appears to have benefit on several areas of cognitive domains. The study findings suggested that maintaining a healthy body weight and enhancing CRF are beneficial for cognitive function of middle-aged women which might consequently lower the risk of cognitive decline in old age. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Cognitive Performance | en_US |
dc.title | Comparison of cognitive performance between obese and normal weight middle-aged women | en_US |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบความสามารถด้านความคิดความเข้าใจระหวา่งสตรีวัยกลางคนที่อ้วนและน้ำหนักปกติ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Overweight women | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Cognition | - |
thailis.controlvocab.mesh | Physical fitness | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ผู้ที่มีภาวะอ้วนทั่วโลกมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งส่งผลเสียต่อระบบสาธารณสุข ภาวะ อ้วนในวัยกลางคนจัดเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดภาวะสมองเสื่อมในวัยสูงอายุ อย่างไรก็ตาม การศึกษาถึงผลกระทบของภาวะอ้วนต่อความสามารถด้านความคิดความเข้าใจยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัด นอกจากนี้การศึกษาที่ผ่านมาพบว่าภาวะเมแทบอลิกซินโดรม (Metabolic syndrome) เป็นปัจจัยเสี่ยง ส่วนความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือด (Cardiorespiratory fitness) เป็นปัจจัยที่ช่วย ป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาถึงผลดังกล่าวในสตรีวัย กลางคนที่มีภาวะอ้วน ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้าน ความคิดความเข้าใจระหว่างสตรีวัยกลางคนที่มีภาวะอ้วนและน้ำหนักปกติ รวมถึงเพื่อศึกษาผลของ ภาวะเมแทบอลิกซินโดรมและความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดต่อความสามามารถ ด้านความคิดความเข้าใจเมื่อเกิดร่วมกับการมีภาวะอ้วน อาสาสมัครของการศึกษานี้ประกอบไปด้วย สตรีวัยกลางคนจำนวน 87 คน (มีภาวะอ้วนจำนวน 58 คนและมีน้ำหนักปกติจำนวน 29 คน ซึ่งมีอายุ และระดับการศึกษาใกล้เคียงกัน) อาสาสมัครได้รับการประเมินภาวะเมแทบอลิกซินโดรมด้วยวิธี non-invasive screening method for metabolic syndrome (NIM-MetS) ส่วนความทนทานของ สมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดวัดจากปริมาณการใช้ออกซิเจนสูงสุด (VO2, max) และแบ่งเป็นความ ทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดสูงหรือต่ำ (VO2, max สูงกว่าหรือต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่) 50) ตามเกณฑ์ของ American College of Sports Medicine guidelines จากนั้นอาสาสมัครทั้งหมดได้รับ การประเมินความสามารถด้านความคิดความเข้าใจด้วยแบบประเมินดังนี้ Montreal Cognitive Assessment (MoCA) digit span (DS) trail making test (TMT) hand reaction time (HRT) logical memory (LM) Wล: semantic verbal fluency test (SVFT) ใช้สถิติ Analysis of covariance (ANCOVA) ในการเปรียบเทียบความสามารถด้านความคิดความเข้าใจระหว่างกลุ่มสตรีวัยกลางคนที่มีภาวะอ้วน และน้ำหนักปกติ กลุ่มสตรีอ้วนที่มีและไม่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรม และในกลุ่มสตรีน้ำหนักปกติที่ มีความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดสูงและกลุ่มสตรีอ้วนที่มีความทนทานของ สมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดสูงและต่ำ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มสตรีอ้วน (n= 58) มีคะแนน MoCA DS TMT HRT และ LM ต่ำกว่ากลุ่มสตรีน้ำหนักปกติ (n = 29) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) กลุ่มสตรีอ้วนที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรม (n = 28) มีคะแนน LM ต่ำกว่ากลุ่มสตรีอ้วนที่ไม่มี ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม (n = 30) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.002) กลุ่มสตรีน้ำหนักปกติที่มี ความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดสูง (NW-high CRF;n= 28) ได้คะแนน MoCA และ HRT สูงกว่ากลุ่มสตรีอ้วนที่มีความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดสูง (OB-high CRF;n = 24) และได้คะแนน MoCA DS TMT HRT และ LM มากกว่ากลุ่มสตรีอ้วนที่มีความทนทาน ของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดต่ำ (OB-low CRF;n = 24) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) นอกจากนี้กลุ่มสตรีอ้วนที่มีความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดสูงมีคะแนน DS TMT และ LM ที่สูงกว่ากลุ่มสตรีอ้วนที่มีความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดต่ำอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p <0.0s) จากผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าภาวะอ้วนมีผลกระทบต่อ ความสามารถด้านความคิดความเข้าใจหลายด้าน โดยพบว่าความจำได้รับผลกระทบมากขึ้นเมื่อมี ภาวะเมแทบอลิกชิ้นโดรมร่วมด้วย ส่วนความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดมีผลดีต่อ ความสามารถด้านความคิดความเข้าใจในหลายด้าน ผลการศึกษานี้แนะนำว่าการควบคุมน้ำหนักตัวให้ ปกติและการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความทนทานของสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดเป็นประโยชน์ ต่อความสามารถด้านความคิดความเข้าใจของสตรีวัยกลางคนซึ่งน่าจะช่วยลดความเสียงของการ ถดออยของความสามารถด้านความคิดความเจ้าใจเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุได้ | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631131003 วนัชพร วิชญาณรัตน์.pdf | 2.72 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.