Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79929
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSupaporn Chinchai-
dc.contributor.advisorPeeraya Munkhetvit-
dc.contributor.advisorSarinya Sriphetcharawut-
dc.contributor.authorSmily Jesu Priya Victor Paulrajen_US
dc.date.accessioned2024-08-04T03:38:56Z-
dc.date.available2024-08-04T03:38:56Z-
dc.date.issued2024-02-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79929-
dc.description.abstractBackground: Children with autism spectrum disorder (ASD) have difficulty recognizing facial expressions, tone of voice, body language, and context. Emotional arousal and emotion recognition (required emotional empathy and cognitive processing empathy) induce downstream illnesses in these children, which consequently impair their occupational performance in terms of social involvement and peer interaction. Objectives: First, we aimed to review the efficacy of emotional recognition training on social cognitive abilities in children with ASD. Second, we aimed to develop and validate an emotional recognition memory training program (ERMTP) and conduct a pilot test of the ERMTP with both normally developing children and those with ASD. Finally, we aimed to determine the effectiveness of the ERMTP in improving social cognition among children with ASD. Materials and methods: This study comprised three phases. The first phase, the literature review, was conducted to determine the impact of emotion recognition training on social cognition in children with ASD. In the second phase, an ERMTP with two tasks was designed. The content of task 1 (two activities) and task 2 (nine activities) was validated by five experts. A pilot test was conducted to identify the responses of five typically developing children and five children with ASD when using 2 weeks of the ERMTP intervention. During the third phase, the effects of the ERMTP on the social cognitive abilities of the children with ASD were examined. A control group (n = 20) and an ERMRP group (n = 20) were randomly assigned using a sample of 40 children with ASD. The children participated in the ERMTP six days per week for four weeks, with 24 sessions of 60 minutes each. The CARS, CMQ-R, OMQ-PF, and SRS were evaluated pragmatically pre-, post and 1 month following the treatment. Results: In phase 1 and 2, the development of ERMTP activity items showed good content validity, especially regarding clarity and relevance. All five content experts gave the intervention an IOC of 1.0 for its distinct components. The descriptive analysis indicated that all ten children (5 typically developing and 5 children with ASD) followed the emotional expressions and instructions (100%), and all parents reported changes in the children’s focus and memory skills. In a pilot test, a comparison of pre- and post-ERMTP of the social cognitive index showed there was significant change (Z = - 2. 023, p = .043) in children with ASD (n=5). In phase 3, pairwise comparisons of the experimental groups were conducted pre- and post-intervention and post-follow-up. There were changes in the estimated marginal means of all the social cognition variables, emotion regulation, and memory skills. In particular, the pre-and post-tests revealed statistically significant differences in the social cognitive index (t = 7.060, p = 0.001), memory function (t = 12.369, p = 0.001), emotion regulation of imitation (t = 2.650, p = 0.016), and emotional responses (t = 2.364, p = 0.030). Furthermore, at the 1-month follow-up, there were statistically significant differences in the social cognitive index (t = 2.126, p = 0.048), emotional response (t = 2.191, p = 0.042), QMQ-PF total score (t = - 2.650, p = 0.016), episodic memory (t = 2.260, p = 0 .036), and CMQ total score (t = 3.274, p = 0.004). Conclusion: The children with ASD showed a statistically significant improvement in social cognition skills following the ERMTP. This intervention is helpful for occupational therapists and parents of children with ASD.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectemotional recognitionen_US
dc.subjectautismen_US
dc.subjectsocial cognitionen_US
dc.subjectmemoryen_US
dc.subjectfacial expressionen_US
dc.titleDevelopment and effects of an emotional recognition memory training program on social cognition in children with Autism Spectrum Disorderen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาและผลของโปรแกรมการฝึกความจำแบบรู้จำอารมณ์ต่อความคิด ความเข้าใจด้านสังคมในเด็กออทิสติกสเปกตรัมen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAutism in children-
thailis.controlvocab.lcshAutism spectrum disorders in children-
thailis.controlvocab.lcshEmotion recognition in children-
thailis.controlvocab.lcshEmotion recognition-
thailis.controlvocab.lcshEpisodic memory-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractภูมิหลัง: เด็กออทิสติกสเปกตรัมมีความยากลำบากในการรู้จำการแสดงออกทางใบหน้า น้ำเสียง ภาษาท่าทางและบริบทต่าง ๆ โดยการตื่นตัวทางอารมณ์และการรู้จำอารมณ์ (ต้องการอารมณ์ความเห็นอกเห็นใจและกระบวนการรับรู้เรียนรู้ด้านอารมณ์) นำมาซึ่งอาการป่วยต่อเนื่องในเด็กเหล่านี้ ซึ่งส่งผลให้การทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตในแง่ของการมีส่วนร่วมทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนด้อยลง วัตถุประสงค์: ประการแรก ทบทวนประสิทธิภาพของการฝึกการรู้จำอารมณ์ต่อความสามารถในความคิดความเข้าใจด้านสังคมในเด็กออทิสติกสเปกตรัม ประการที่สอง พัฒนาและตรวจสอบโปรแกรมการฝึกความจำการรู้จำอารมณ์ ERMTP และดำเนินการทดสอบนำร่องโปรแกรม ERMTP กับเด็กที่มีพัฒนาการปกติและเด็กออทิสติกสเปกตรัม และสุดท้ายทำการประเมินประสิทธิผลของโปรแกรม ERMTP ในการส่งเสริมความคิดความเข้าใจด้านสังคมในเด็กออทิสติกสเปกตรัมวัสดุและวิธีการ: การศึกษานี้ประกอบด้วยสามระยะ ได้แก่ ระยะแรกเป็นการทบทวนวรรณกรรมเพื่อพิจารณาผลกระทบของการฝึกการรู้จำอารมณ์ต่อความสามารถในความคิดความเข้าใจด้านสังคมในเด็กออทิสติกสเปกตรัม ระยะที่สองทำการออกแบบโปรแกรม ERMTP ซึ่งประกอบด้วยการทำงาน 2 แบบโดยมีเนื้อหาของการทำงานแบบที่ 1 จำนวนสองกิจกรรม และการทำงานแบบที่ 2 จำนวนเก้ากิจกรรม ทั้งนี้ได้รับการตรวจสอบเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน ทำการทดสอบนำร่องเพื่อดูการตอบสนองของเด็กปกติ 5 คนและเด็กออทิสติกสเปกตรัม 5 คน ขณะใช้โปรแกรม ERMTP เป็นเวลา 2 สัปดาห์ และระยะที่สาม มีการตรวจสอบผลของโปรแกรม ERMTP ต่อความสามารถด้านความคิดความเข้าใจด้านสังคมของเด็กออทิสติกสเปกตรัม โดยทำการสุ่มตัวอย่างเด็กออทิสติกสเปกตรัม จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 20 คน ซึ่งเด็กเข้าร่วมโปรแกรม ERMTP หกวันต่อสัปดาห์ เป็นเวลาสี่สัปดาห์ ทั้งหมด 24 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที ใช้แบบประเมินCARS, CMQ-R, OMQ-PF และ SRS ประเมินก่อนและหลังการเข้าโปรแกรม และติดตามผล 1 เดือนหลังเข้าโปรแกรม ผลการศึกษา: ในระยะที่ 1 และ 2 การพัฒนากิจกรรมในโปรแกรม ERMTP มีความตรงเชิงเนื้อหาที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับความชัดเจนและความเกี่ยวข้องกันของเนื้อหา โดยได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1 ในการวิเคราะห์เชิงพรรณนาพบว่าว่าเด็กทั้ง 10 คน (เด็กพัฒนาการปกติ 5 คนและเด็กออทิสติกสเปกตรัม 5 คน) สามารถปฏิบัติตามคำแนะนำของโปรแกรมได้ทุกคน (100%) และผู้ปกครองทุกคนรายงานการเปลี่ยนแปลงในด้านสมาธิและทักษะการจดจำของเด็ก จากนั้นทำการทดสอบนำร่อง โดยการเปรียบเทียบคะแนนดัชนีความคิดความเข้าใจด้านสังคมก่อนและหลังเข้าโปรแกรม ERMTP ในเด็กออทิสติกสเปกตรัม พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Z = - 2. 023, p = .043) ในระยะที่ 3 ทำการเปรียบเทียบแบบคู่ของกลุ่มการทดลองก่อนและหลังการเข้าโปรแกรมและประเมินติดตามผลภายหลังจบโปรแกรม 1 เดือน พบการเปลี่ยนแปลงในค่าเฉลี่ยของตัวแปร ด้านความคิดความเข้าใจด้านสังคม การควบคุมอารมณ์และทักษะการจดจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลการทดสอบก่อนและหลังการการเข้าโปรแกรม พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านดัชนีความคิดความเข้าใจด้านสังคม (t = 7.060, p = 0.001), ด้านความจำ (t = 12.369, p = 0.001), การเลียนแบบการควบคุมอารมณ์ (t = 2.650, p = 0.016) และการตอบสนองทางอารมณ์ (t = 2.364, p = 0.030) นอกจากนี้ ในการติดตามผลภายหลังจบโปรแกรม 1 เดือน ยังคงมีความแตกต่างที่มีนัยสำคัญทางสถิติในดัชนีความคิดความเข้าใจด้านสังคม (t = 2.126, p = 0.048) การตอบสนองทางอารมณ์ (t = 2.191, p = 0.042) คะแนนรวมของ OMQ-PF (t = - 2.650, p = 0.016) ความจำอีพิคโซดิค (t = 2.260, p = 0 .036) และคะแนนรวม CMQ (t = 3.274, p = 0.004) สรุปผลการศึกษา: ทักษะความคิดความเข้าใจด้านสังคมของเด็กออทิสติกสเปกตรัมมีการพัฒนาดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังเข้าโปรแกรม ERMTP ดังนั้น นักกิจกรรมบำบัดและผู้ปกครองของเด็กออทิสติกสเปกตรัมสามารถนำการรักษาด้วยวิธีนี้ไปเป็นแนวทางในการส่งเสริมทักษะความคิดความเข้าใจด้านสังคมของเด็กออทิสติกสเปกตรัมen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611155805-SMILY JESU PRIYA VICTOR PAULRAJ_watermarks.pdf31.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.