Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยา วรรธนะภูติ-
dc.contributor.authorธนานนท์ โสมอ่อนen_US
dc.date.accessioned2024-08-02T01:07:12Z-
dc.date.available2024-08-02T01:07:12Z-
dc.date.issued2567-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79925-
dc.description.abstractThis study integrates "hybrid geographies" and "political ecology" to comprehensively examine the human-nature relationship and the political dimensions of environmental knowledge and governance. Additionally, it critically assesses government-led development endeavors such as the Mukdahan Special Economic Zone. This dissertation seeks to analyze the contextual factors contributing to contemporary environmental crisis through a multidisciplinary approach. By considering various dimensions of environmental governance, it aims to move beyond dualistic perspectives and emphasize the interconnectedness of the natural and social realms, facilitating a more integrated understanding of environmental dynamics. This thesis consequently outlines three key objectives: 1) to study hybrid geographies of “sugarcane” in the Mukdahan Special Economic Zone 2) to study the power relationships of the sugarcane network in the Mukdahan Special Economic Zone. The study's findings demonstrate how the co-construction of human and non-human actors has influenced the nature-culture of the sugarcane network in Mukdahan Province, leading to a reconfiguration of power dynamics. This process is contextualized within the neoliberalization of the Mukdahan sugarcane network, aimed at facilitating the accumulation by dispossession.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title“อ้อย”: ภูมิศาสตร์พันทางและนิเวศวิทยาการเมืองในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหารen_US
dc.title.alternative“Sugarcane”: hybrid geographies and political ecology in Mukdahan special economic zoneen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอ้อย -- มุกดาหาร-
thailis.controlvocab.thashมุกดาหาร -- ภาวะเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashนิเวศวิทยาการเมือง -- มุกดาหาร-
thailis.controlvocab.thashพืชเศรษฐกิจ -- นิเวศวิทยา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstract“อ้อย”: ภูมิศาสตร์พันทางและนิเวศวิทยาการเมืองในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหารได้นำแนวคิดภูมิศาสตร์แบบโลกพันทางและแนวคิดนิเวศวิทยาการเมืองมาทำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติและการเมืองของการจัดการและความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมพร้อมกับการตั้งคำถามกับโครงการพัฒนาของรัฐอย่างเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร มากไปกว่านั้นวิทยานิพนธ์นี้พยายามสืบเสาะบริบทที่เป็นเงื่อนไขให้กับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันผ่านการทดลองทำความเข้าใจของผู้วิจัยในลักษณะของพหุสาขาวิชาเพื่อให้สามารถทำความเข้าใจปรากฏการณ์โดยคำนึงมิติที่หลากหลายของการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและก้าวข้ามวิธีคิดแบบทวิลักษณ์ในการทำความเข้าใจโลกทางธรรมชาติที่ไม่ได้แยกขาดจากโลกทางสังคม วิทยานิพนธ์นี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาภูมิศาสตร์แบบโลกพันทางของ “อ้อย” ในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงอำนาจของเครือข่ายอ้อยในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร จากการวิเคราะห์ข้อมูลทำให้ผู้วิจัยพบว่ากระบวนการประกอบสร้างร่วมกันของผู้กระทำการที่เป็นมนุษย์และที่ไม่ใช่มนุษย์ได้จัดรูปความสัมพันธ์แบบวัฒนธรรมชาติของเครือข่ายอ้อยจังหวัดมุกดาหารขึ้นมาพร้อมกับการจัดรูปใหม่ของความสัมพันธ์เชิงอำนาจภายใต้บริบทของกระบวนการทำให้เครือข่ายอ้อยจังหวัดมุกดาหารให้มีความเป็นเสรีนิยมใหม่เพื่อให้กระบวนการสะสมทุนขยายตัวได้en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thananon Som-on 620431013.pdf21.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.