Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.authorมณธิดา ปวงคำen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T15:30:04Z-
dc.date.available2024-07-28T15:30:04Z-
dc.date.issued2567-06-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79919-
dc.description.abstractThis independent study aimed to 1) investigate the current state of personal mastery among teachers in opportunity expansion schools under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 6, 2) explore guidelines for promoting characteristics of personal mastery among these teachers, and 3) examine the proposed guidelines. The study was conducted in three stages: 1) investigating the current state of personal mastery among 191 teachers using a questionnaire, 2) exploring guidelines for promoting personal mastery characteristics through interviews with six purposively selected experts, and 3) examining the proposed guidelines with 31 purposively selected participants using a checklist. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The results revealed that the overall current state of personal mastery among teachers in opportunity expansion schools under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 6 was at a high level. The aspect with the highest current state of characteristics was attitude, while the aspect with the lowest current state of characteristics was habits and behaviors. The proposed guidelines for promoting personal mastery characteristics among teachers in opportunity expansion schools under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 6 included: Habits and Behaviors: 1) conducting research, analyzing data, and creating innovations, 2) practicing reflective writing, 3) attending training and seminars, 4) seeking inspiration from experienced professionals, 5) promoting clear shared vision, 6) creating learning resources, 7) establishing learning communities and networks, and 8) fostering a stimulating and supportive learning environment. Attitude: 1) supporting continuous learning and self-development, 2) building learning communities and collaborative work, 3) creating an enthusiastic and enjoyable learning atmosphere, 4) enhancing self-confidence, 5) promoting acceptance of others' opinions and learning from others, and 6) encouraging learning and self-development from mistakes. Skills: 1) creating learning communities, 2) organizing diverse training and seminars, 3) supporting experiential learning, 4) providing situations to practice analytical and synthetic thinking skills, 5) promoting information search, analysis, and summarization skills, and 6) practicing communication skills. And Knowledge: 1) participating in training, seminars, and academic conferences, 2) establishing learning networks among educational institutions, 3) supporting the use of online learning resources, 4) encouraging knowledge acquisition from various sources, 5) supporting internal supervision and mentoring systems, 6) developing schools into learning organizations, and 7) promoting higher-order thinking skills development. The examination of the proposed guidelines revealed that their suitability, feasibility, and usefulness for promoting personal mastery characteristics among teachers in opportunity expansion schools under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 6 were at the highest level overall.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectบุคคลแห่งการเรียนรู้en_US
dc.subjectโรงเรียนขยายโอกาสen_US
dc.titleแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6en_US
dc.title.alternativeGuidelines for promoting attributes to be a learner person of teachers in the opportunity expansion school attached to Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 6en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6-
thailis.controlvocab.thashครูต้นแบบ-
thailis.controlvocab.thashครู -- การประเมินศักยภาพ-
thailis.controlvocab.thashครู-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 2) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 และ 3) เพื่อตรวจสอบแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 ซึ่งมี 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพปัจจุบันการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถาม 2) การศึกษาแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และ3) การตรวจสอบแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ ประกอบด้วย ผู้ตรวจแบบตรวจสอบแนวทาง โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบตรวจสอบแนวทาง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 โดยรวม พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่เป็นสภาพปัจจุบันของคุณลักษณะมากที่สุดคือด้านเจตคติ ส่วนด้านที่เป็นสภาพปัจจุบันของคุณลักษณน้อยที่สุด คือ ด้านนิสัยและพฤติกรรม แนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 ด้านนิสัยและพฤติกรรม ประกอบด้วย 1) ศึกษาค้นคว้า ทำวิจัย วิเคราะห์ข้อมูล และสร้างนวัตกรรม 2) ฝึกเขียนบันทึกทบทวนความรู้และประสบการณ์ 3) เข้าร่วมการอบรม สัมมนา 4) มองแรงบันดาลใจจากบุคคลที่มีประสบการณ์หรือผลงานโดดเด่นในวิชาชีพ 5) ส่งเสริมการกำหนดภาพเป้าหมายร่วมกันอย่างชัดเจน 6) ส่งเสริมการสร้างแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ 7) ส่งเสริมการสร้างชุมชนการเรียนรู้ รวมกลุ่มเครือข่าย 8) ส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อมที่กระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้และสนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้านเจตคติ ประกอบด้วย 1) สนับสนุนให้เกิดเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2) สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้และการทำงานร่วมกัน 3) สร้างบรรยากาศที่เต็มไปด้วยความกระตือรือร้นและความสนุกสนานในการเรียนรู้ 4) สนับสนุนและเสริมสร้างให้ความเชื่อมั่นในตนเอง 5) ส่งเสริมให้มีการยอมรับความคิดเห็นและการเรียนรู้จากผู้อื่น 6) ส่งเสริมให้เรียนรู้และพัฒนาตนเองจากความผิดพลาด ด้านทักษะ ประกอบด้วย 1) สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ 2) จัดอบรมและสัมมนาในหลากหลายด้าน 3) สนับสนุนจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 4) จัดสถานการณ์เพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ 5) ส่งเสริมทักษะการสืบค้น วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล 6) ฝึกทักษะการสื่อสาร ด้านความรู้ ประกอบด้วย 1) จัดให้มีการเข้าร่วมอบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ 2) สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างสถาบันการศึกษา 3) สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ 4) กระตุ้นให้แสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน 5) สนับสนุนการจัดระบบการนิเทศและพี่เลี้ยงภายในโรงเรียน 6) พัฒนาโรงเรียนให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 7) ส่งเสริมการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง สำหรับผลการตรวจสอบ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232080_มณธิดา_ปวงคำ.pdf10.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.