Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79912
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มนต์นภัส มโนการณ์ | - |
dc.contributor.advisor | สุบัน พรเวียง | - |
dc.contributor.author | อนวัช นันทะเสน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-28T09:27:10Z | - |
dc.date.available | 2024-07-28T09:27:10Z | - |
dc.date.issued | 2567-05-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79912 | - |
dc.description.abstract | This research aims to 1) synthesize the components and indicators of the innovation ecosystem of primary schools 2) study the methods and best practices for developing the innovation ecosystem of primary schools, and 3) create and validate guidelines for developing the innovation ecosystem of primary schools. The sample group includes 545 primary school administrators and teachers, using a 50-item questionnaire with a reliability of 0.944. Confirmatory factor analysis was conducted using Mplus. Qualitative data were collected through interviews with administrators from three model schools with good innovation practices and nine experts with knowledge and expertise in developing the innovation ecosystem of primary schools. The draft guidelines for developing the innovation ecosystem of primary schools were reviewed by seven experts selected through purposive sampling, using a focus group discussion record to verify the guidelines in three aspects appropriateness feasibility and usefulness. The research findings are as follows 1) The components of the innovation ecosystem include six elements are 1) innovational policy 2) learning spaces 3) personnel 4) innovation culture 5) budget and 6) infrastructure and support. The model's fit was confirmed indicating structural validity as the empirical data variance matrix aligned with the theoretical framework 2) Best practices and methods for developing the innovation ecosystem of primary schools comprise five main aspects are 1) the importance of applying the innovation ecosystem of primary schools 2) guidelines for developing the innovation ecosystem in primary schools 3) methods for applying the innovation ecosystem concept 4) conditions for success and 5) limitations/additional suggestions for developing the innovation ecosystem in primary schools 3) The guidelines for developing the innovation ecosystem of primary schools consist of five aspects 1) Principles are developing the innovation ecosystem of primary schools 2) Objectives are creating guidelines for developing the innovation ecosystem of primary schools 3)Methods/guidelines are the top three suitable methods are innovation culture personnel and innovation policy 4) Conditions for success are raising awareness and understanding the necessity of change and innovation in schools and 5) Limitations and suggestions are lack of understanding and acceptance of change, the role of administrators as change leaders, the ability to persuade and motivate both internal and external stakeholders to cooperate and become part of the change. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ระบบนิเวศนวัตกรรม | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for developing the innovational ecosystem of primary schools | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | นวัตกรรมทางการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษา -- การประเมิน | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนประถมศึกษา -- การประเมิน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) สังเคราะห์องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 2) ศึกษาวิธีการและวิธีปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา และ 3) จัดทำและตรวจสอบแนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา และครูระดับประถมศึกษาจำนวน 545 คน โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 50 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น 0.944 วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยด้วยโปรแกรม Mplus และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาจากสถานศึกษาต้นแบบที่มีวิธีการปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนานวัตกรรม จำนวน 3 โรงเรียน และผู้ทรงคุณวุฒิที่ความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 9 คน และตรวจสอบ (ร่าง)แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน7 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบบันทึกสนทนากลุ่มเพื่อตรวจสอบ (ร่าง) แนวทางฯ ใน 3 ประเด็น ได้แก่ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรม มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) นโยบายนวัตกรรม 2) พื้นที่ในการเรียนรู้ 3) บุคลากร 4) วัฒนธรรมนวัตกรรม 5) งบประมาณ และ 6) โครงสร้างพื้นฐาน และการสนับสนุน ผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลตัวบ่งชี้องค์ประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรมได้รับการยืนยันว่ามีความตรงเชิงโครงสร้าง โดยเมทริกซ์ความแปรปรวนของข้อมูลเชิงประจักษ์สอดคล้องกับทฤษฎี 2) วิธีการและวิธีปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) ความสำคัญในการนำระบบนิเวศนวัตกรรมไปปรับประยุกต์ในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 2) แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 3) วิธีการนำแนวคิดระบบนิเวศนวัตกรรมไปปรับประยุกต์ใช้ 4) เงื่อนไขความสำเร็จ และ 5) ข้อจำกัด/ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 3) แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย 5 ประเด็นได้แก่ 1) หลักการ คือ การพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 2) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 3) วิธีการ/แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 3 อันดับแรกที่เหมาะสม คือ วัฒนธรรมนวัตกรรม บุคลากร และนโยบายนวัตกรรม 4) เงื่อนไขความสำเร็จ คือ การชี้แจงสร้างความตระหนัก และเข้าใจถึงความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษาเชิงประจักษ์ และ 5) ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะ คือ ความไม่เข้าใจและไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารที่เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีศักยภาพในการโน้มน้าวและผลักดันบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร ให้ร่วมมือและเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232093-อนวัช นันทะเสน.pdf | 14.56 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.