Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79906
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวิ รุ่งเรืองศรี-
dc.contributor.authorอภิณัฐ นิ้มประยูรen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T08:59:49Z-
dc.date.available2024-07-28T08:59:49Z-
dc.date.issued2567-05-30-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79906-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the influence of marketing promotion through digital channels towards the intention to use services of Grand Canyon Water Park among consumers in the new normal era. The questionnaire was used to collect data from a sample of 500 consumers, who used to use services from the Grand Canyon Water Park, Chiang Mai, in Generation Y and Generation Z. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results showed that most of the respondents were female, have an education level at the bachelor’s degree, held a single status, and had an occupation as students. The average monthly income was less than 15,000 baht. The residential region was in the northern region. The most used digital media channel to receive general news was Facebook. The most used service water park in Chiang Mai was Grand Canyon Water Park. The days used the water park were Saturday, Sunday, or public holiday. The most accessible days to use the water park were Saturday, Sunday, or public holiday. The most common time to use the water park was from 2:01 p.m. to 4:00 p.m. The average number of hours spending in the water park was 2–3 hours per time, and the frequency of usage was 2–3 times per year. The person who influenced the decision to use water park services was oneself. The average cost of using the water park was 400–600 baht per time. They used the water park service because they liked to do water activities and wanted an extremely level of excitement. The digital media channel used to receive news in order to decide to use water park services was Facebook page. There were four aspects of marketing promotion through digital channels that affected the intention to use the services of Grand Canyon Water Park among consumers in the new normal era at a significant level of 0.05. They were public relations through digital channels, followed by sales promotion through digital channels, advertising through digital channels, and personal selling through digital channels. On the other hand, direct marketing through digital channels did not affect the intention to use the services of Grand Canyon Water Park among consumers in the new normal era.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอิทธิพลของการส่งเสริมการตลาดผ่านช่องทางดิจิทัลต่อความตั้งใจใช้บริการสวนน้ำแกรนด์ แคนยอนของผู้บริโภคในยุคความปกติใหม่en_US
dc.title.alternativeInfluence of marketing promotion through digital channels towards the intention to use services of Grand Canyon Water Park among consumers in the new normal eraen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสวนน้ำแกรนด์ แคนยอน-
thailis.controlvocab.thashการสื่อสารทางการตลาด-
thailis.controlvocab.thashช่องทางการตลาด-
thailis.controlvocab.thashสวนน้ำ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนิวนอร์มัล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของของการส่งเสริมการตลาดผ่านช่องทางดิจิทัลต่อความตั้งใช้บริการสวนน้ำแกรนด์ แคนยอนของผู้บริโภคในยุคความปกติใหม่ ด้วยการสำรวจโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 500 คน ซึ่งเป็นผู้บริโภคในกลุ่มเจเนอเรชันวาย และกลุ่มเจเนอเรชันแซด ที่เคยใช้บริการสวนน้ำแกรนด์ แคนยอน เชียงใหม่ โดยสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นนักเรียน / นักศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่า 15,000 บาท มีภูมิภาคที่อยู่อาศัยที่ภาคเหนือ สื่อในช่องทางดิจิทัลที่ใช้เพื่อรับรู้ข่าวสารทั่วไปเป็นประจำมากที่สุดคือ เฟซบุ๊ก สวนน้ำที่ใช้บริการมากที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่คือสวนน้ำ แกรนด์ แคนยอน วันที่เข้าใช้บริการ สวนน้ำคือวันเสาร์ - อาทิตย์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลาที่เข้าใช้บริการสวนน้ำคือ 14.01 - 16.00 น. มีจำนวนชั่วโมงใช้บริการสวนน้ำต่อครั้งที่ 2 - 3 ชั่วโมง ใช้บริการสวนน้ำ 2 - 3 ครั้งต่อปี ผู้มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าใช้บริการสวนน้ำคือตนเอง มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการใช้บริการสวนน้ำต่อครั้งที่ 400 - 600 บาท มาใช้บริการสวนน้ำเพราะชอบเล่นกิจกรรมทางน้ำ ต้องการเครื่องเล่นที่มีระดับความเร้าใจที่สนุก มีสื่อช่องทางดิจิทัลที่ใช้ในการรับรู้ข่าวสารเพื่อตัดสินใจเลือกใช้บริการสวนน้ำคือเฟซบุ๊ก เพจ โดยการส่งเสริมการตลาดผ่านช่องทางดิจิทัลที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการสวนน้ำแกรนด์ แคนยอนของผู้บริโภคในยุคความปกติใหม่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 มี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการให้ข่าวและประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางดิจิทัล รองลงมาคือ ด้านการส่งเสริมการขายผ่านช่องทางดิจิทัล ด้านการโฆษณาผ่านช่องทางดิจิทัล และด้านการขายโดยพนักงานขายผ่านช่องทางดิจิทัล ตามลำดับ ส่วนด้านการตลาดทางตรงผ่านช่องทางดิจิทัลไม่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการสวนน้ำแกรนด์ แคนยอนของผู้บริโภคในยุคความปกติใหม่ในภาพรวมen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532168 อภิณัฐ นิ้มประยูร.pdf5.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.