Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79904
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.authorภูริวัฒน์ เขนยen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T08:53:33Z-
dc.date.available2024-07-28T08:53:33Z-
dc.date.issued2567-05-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79904-
dc.description.abstractThis study aims to: 1) examine the management status of the competency-based curriculum at education sandbox pilot schools under the Secondary Educational Service Area Office Chiang Mai; 2) explore the management strategies of the competency-based curriculum at these institutions; 3) examine the management approaches of the competency-based curriculum at the aforementioned institutions. The study follows a three-step approach: Step 1 examining the management status of the competency-based curriculum, using data from 28 school administrators and teachers through purposive sampling, utilizing questionnaire checklist and a 5-point rating scale. Step 2 studying the management approaches from 5 qualified individuals through interviews and content analysis. Step 3 verifying the management strategies using data from a sample group of 201 educational administrators and educational supervisors through stratified random sampling. The data collection tools include feasibility and utility assessment questionnaire checklist, and 5-point rating scale. The statistics used for data analysis were percentage mean and standard deviation. The findings of the study indicate that : 1. The overall management of the competency-based curriculum at the institutions is at a moderate level. When analyzed by specific aspects, it is evident that drafting and evaluating the curriculum, preparing and implementing it, and assessing its quality, are areas that can be further prioritized. 2. There are 25 management strategies identified. These strategies encompass preparation for curriculum development (7 strategies), curriculum drafting and competency quality assurance (5 strategies), utilization of competency-based curriculum (6 strategies), and curriculum assessment (7 strategies). 3. The assessment indicates a high level of feasibility and utility of the management strategies overall.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหลักสูตรฐานสมรรถนะen_US
dc.subjectพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาen_US
dc.titleแนวทางการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องระดับมัธยมศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Guidelines for competency-based curriculum administration of education sandbox pilot secondary schools in Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashสมรรถนะ-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ 3) เพื่อตรวจสอบ แนวทางการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ โดยมีการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ แหล่งข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ จำนวน 28 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ และแบบมาตรตราส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบแนวทางการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารการศึกษาและศึกษานิเทศก์ที่ปฏิบัติงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติงาน ในสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ จำนวน 201 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของแนวทาง มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ และแบบมาตราส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1. สภาพการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการร่างหลักสูตรฐานสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรฐานสมรรถนะ ด้านการประเมินหลักสูตร ฐานสมรรถนะ ด้านการเตรียมความพร้อมการจัดทำหลักสูตรฐานสมรรถนะ และด้านการนำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปใช้ ตามลำดับ 2. แนวทางการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ มีทั้งหมด 25 ขั้นตอน แบ่งออกเป็น ด้านการเตรียมความพร้อมการจัดทำหลักสูตรฐานสมรรถนะ 7 ขั้นตอน ด้านการร่างหลักสูตรฐานสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรฐานสมรรถนะ 5 ขั้นตอน ด้านการนำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปใช้ 6 ขั้นตอน และด้านการประเมินหลักสูตรฐานสมรรถนะ 7 ขั้นตอน 3. การตรวจสอบแนวทางการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ มีความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของแนวทางในภาพรวมอยู่ในระดับมากen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232079-ภูริวัฒน์ เขนย.pdf6.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.