Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79897
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โรจนี จินตนาวัฒน์ | - |
dc.contributor.advisor | ณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์ | - |
dc.contributor.author | นฤภัทร ดุเหว่า | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-28T08:02:05Z | - |
dc.date.available | 2024-07-28T08:02:05Z | - |
dc.date.issued | 2565-05-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79897 | - |
dc.description.abstract | Knee osteoarthritis is a chronic disease that trends to increase in the elderly. The key to controlling knee osteoarthritis is proper self-management. This predictive correlational research aimed to study self-management and factors predicting self-management among older persons with knee osteoarthritis which include health literacy, social support, and self-efficacy. The participants were 120 older persons with knee osteoarthritis who received treatment at four health promoting hospitals in Muang Phrae district, Phrae province. Data collection was indicated by multiple stage random sampling, and the sample group was collected by convenience sampling during August to October 2021. The research tools consist of a personal data questionnaire, self-management evaluation, health literacy evaluation, social support evaluation, and self-efficacy evaluation among older persons with knee osteoarthritis. Data was analyzed using descriptive statistics and multiple regression analysis. The results showed that, overall, the sample group demonstrated self-management and three aspects at high levels. Social support, self-efficacy, and health literacy could predict self-management among older persons with knee osteoarthritis (74%) with statistical significance at.001. Social support was the most predictive factor of self-management (β = .557, p < .001), followed by self-efficacy (β .342,p < .001), and health literacy (β = .133, p < .001) Health personnel can utilize the research results to develop a program to promote self- management among older persons with knee osteoarthritis by advocating for social support, self-efficacy, and heath literacy. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยทำนายการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม | en_US |
dc.title.alternative | Factors predicting self-management among older persons with knee osteoarthritis | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการตนเอง (จิตวิทยา) | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้สูงอายุ -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้อเข่า -- โรค | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้อเสื่อม | - |
thailis.controlvocab.thash | การส่งเสริมสุขภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล -- แพร่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคเรื้อรังที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในผู้สูงอายุ การควบคุมโรคข้อเข่าเสื่อมที่ สำคัญคือ การจัดการตนเองอย่างหมาะสม การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดการตนเอง และปัจจัยทำนายการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม ได้แก่ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตน กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน 120 ราย เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 4 แห่งใน อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ กำหนดแหล่งเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มหลายขั้นตอน และเลือกกลุ่ม ตัวอย่างตามความสะดวก ตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการจัดการตนเอง แบบวัดความรอบรู้ด้าน สุขภาพ แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม และแบบวัดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้สูงอายุโรคข้อ เข่าเสื่อม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคุณแบบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการจัดการตนเองโดยรวม และรายด้านทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับสูง และการสนับสนุนทางสังคม การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และความรอบรู้ด้านสุขภาพสามารถร่วมกัน ทำนายการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมได้ ร้อยละ 74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ระดับ .001 โดยการสนับสนุนทางสังคมสามารถทำนายการจัดการตนเองได้มากที่สุด (β = .557, p <.001) รองลงมาคือ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน (β = .342, p < .001) และความรอบรู้ด้านสุขภาพ (β = .133, p < .001) ตามลำดับ บุคลากรสุขภาพสามารถนำผลการวิจัยไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการจัดการ ตนเองในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม โดยเน้นการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม การรับรู้สมรรถนะ แห่งตน และความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621231088-นฤภัทร ดุเหว่า.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.