Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79867
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJuthathip Chalermphol-
dc.contributor.advisorRuth Sirisunyaluck-
dc.contributor.advisorBudsara Limnirankul-
dc.contributor.authorPanas Khumnunen_US
dc.date.accessioned2024-07-24T17:01:00Z-
dc.date.available2024-07-24T17:01:00Z-
dc.date.issued2024-04-19-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79867-
dc.description.abstractThe study investigates the management of crises at agro-tourism sites in the province of Chiang Mai. Its objective is to analyze the management strategies employed during crises in the agro-tourism sector of Chiang Mai and to comprehend the context and crises that occur in agro-tourism sites using data from 74 agro-tourism sites. The study employs a mixed-method approach that integrates quantitative and qualitative research methodologies. The research results indicate that many agro-tourism administrators are male, with an average age of 47. Before registering as agro-tourism sites, they have an average of three years of experience in agro-tourism activities. The average registration period for an agro-tourism site is 5.8 years. A substantial number of agro-tourism sites are community enterprises that operate daily. Young Smart Farmer (YSF), Agro-Tourism, and University to Tambon or U2T Project (U2T) are projects with which they frequently collaborate. The agro-tourism site is situated in a tiny area of no more than 20 Rais and has an average of 17 members in its group. The primary activities emphasize cultivation over tourism, and most do not impose an admission fee. The average accommodation cost at agro-tourism sites is 507 Baht per night, and each site typically offers seven rooms. Agro-tourism locations come equipped with a comprehensive tourism infrastructure and offer diverse services. They possess a defined cultural identity, distinctive agricultural practices, and distinctive traits. Agro-tourism sites employ three categories of tactics: 1) The Subsistence Farming (SF) category comprises 47 small-scale agro-tourism sites, constituting 63.5 percent. Producing products for household consumption is the primary objective of these destinations. 2) The Commercial Farming (CF) group is comprised of 31 medium-sized agro-tourism sites, which are predominantly dedicated to the production of goods for local distribution within the community, accounting for 31 (31.0 percent) of the total. 3) The Semi-Commercial Farming (SCF) category comprises four large-scale (5.5 percent) sites that are significant agro-tourism destinations. In addition to producing products for sale, these facilities also meet the consumption needs of the local community. Additionally, they can conduct manufacturing and marketing operations that extend beyond their immediate vicinity. The management of the agro-tourism crisis involved a series of five distinct measures. Overall, the initial two phases were easily controllable in any emergency. Step 1: Prioritize proactive preparation by collecting pertinent information and staying updated on the impending catastrophe. Step 2: Ready oneself and acquire the necessary resources to respond to and avert the crisis effectively. Step 3 facilitates efficient administration of crisis response, addressing unique problems within the local populations of agro-tourism destinations. In contrast, the issue of legal policy and government bureaucracy received the least amount of attention in terms of management. During step 4 of crisis management, the improvement and correction process occurs once the crisis or event has concluded. The COVID-19 epidemic necessitated the most extensive management among the various crises experienced by agro-tourism communities. Minor management was necessary for legal policy, government bureaucracy, and environmental disasters like climate change. Step 5 entailed overseeing the recuperation process following an extended crisis. The government assisted exclusively with the COVID-19 pandemic, natural disasters (such as wildfires), and specific emergencies affecting agro-tourism communities. The data analysis concerning the agro-tourism crisis indicates that it falls into two distinct segments: 1) There is an issue with agro-tourism, which encompasses 16 locations evenly distributed between the SF and CF organizations. The CF group encountered distinct crises and plant epidemics, while the SF group encountered distinct crises and animal epidemics. 2) A crisis in agro-tourism from an external source impacted 58 places, accounting for 78.4 percent of the total. Out of all the groups, the SF group had the most influence, reaching 67 percent. These crises encompass the COVID-19 pandemic, which had the most profound impact, and difficulties with legal regulations, bureaucracy, government, and climate change-induced natural disasters. The SCF group comprised four places and was affected by three crises related to foreign agro-tourism, accounting for 6.9 percent. These encompassed the COVID-19 epidemic and difficulties with legal regulations, bureaucracy, governance, and the economy. Three crises equally afflicted all three sectors: an economic crisis characterized by high production costs and low agriculture prices, a government crisis, and an external tourism crisis. Four distinct external crises impacted 25.9 percent of the 15 CF groups: a pandemic crisis (COVID-19), natural crises (rainstorms and forest floods), an economic crisis (leading to high production costs and low agriculture prices), and a legal policy crisis. A hierarchical framework established the government system.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectAgro-Tourismen_US
dc.titleCrisis management of agro-tourism sites in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeการจัดการภาวะวิกฤตของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAgritourism -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshChiang Mai -- Description and travel-
thailis.controlvocab.lcshCrisis management-
thailis.controlvocab.lcshProblem solving-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง การจัดการวิกฤตการในกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึง บริบท และวิกฤต ในแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร การจัดการในสภาวะวิกฤตในกลุ่มท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการสำรวจแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) จากแหล่งข้อมูล 74 แหล่ง ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 47 ปี มีประสบการณ์ดำเนินกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงเกษตรเฉลี่ย 3 ปี ก่อนจะตัดสินใจขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซึ่งระยะเวลาที่ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เฉลี่ย 5.8 ปี ส่วนใหญ่แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเปิดทุกวัน ลักษณะการดำเนินการเป็นวิสาหกิจชุมชน และบางส่วนร่วมกับ YSF, Agro-Tourism และ U2T แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีสมาชิกกลุ่มเฉลี่ย 17 คน ใช้พื้นที่ขนาดเล็ก ไม่เกิน 20 ไร่ กิจกรรมหลักเน้นการเพาะปลูกมากกว่าการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ไม่เก็บค่าเข้าชม มีที่พักให้บริการ เฉลี่ยต่อคืน 507 บาท และมีจำนวนที่พักรองรับเพียงพอให้บริการเฉลี่ย 7 ห้องต่อแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีความพร้อมด้านการให้บริการของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และโครงสร้างพื้นฐานทางการท่องเที่ยวที่สะดวกครบถ้วน มีเอกลักษณ์อัตลักษณ์ วัฒนธรรม และด้านเกษตรกรรมที่ชัดเจน จำแนกตามกลยุทธ์ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่ม Subsistence Farming (กลุ่มSF) 47 แห่ง (ร้อยละ 63.5) คือ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรขนาดเล็กที่ทำการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก 2) กลุ่ม Commercial Farming (กลุ่มCF) 31 แห่ง (ร้อยละ 31.0) คือ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรขนาดใหญ่ที่ทำการผลิตเพื่อการจำหน่าย ควบคู่กับการบริโภคภายในชุมชนและมีความสามารถในการผลิตและจำหน่ายได้มากกว่าในชุมชน และ 3) กลุ่ม Semi -Commercial Farming (กลุ่มSCF) 4 แห่ง (ร้อยละ 5.5) คือ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรขนาดกลางที่ทำการผลิตเพื่อการจำหน่ายเภายในชุมชนเป็นหลัก ตามลำดับ สภาพสภาวะวิกฤต และ/หรือ สถานการณ์ที่เคยพบ พบว่า วิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ช่วงปี พ.ศ.2544-2566 เกิดวิกฤตมากถึง 41 ครั้ง มีทั้งหมด 9 ประเภท ซึ่งส่วนมากเป็นวิกฤตธรรมชาติเป็นหลัก กระทบถึง 13 ครั้งตลอด 10 ปี โดยแบ่งเป็น -วิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ กระทบถึง 6 ครั้ง ต่อเนื่องตั้งแต่ ปี พ.ศ.2555-2561), วิกฤตไฟป่า และหมอกควัน กระทบถึง 4 ครั้งต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2555-2562 และวิกฤตพายุฝน&น้ำป่า กระทบถึง 3 ครั้ง แบ่งเป็นสองช่วง คือ ปี พ.ศ.2557 และ ช่วงปี พ.ศ.2563-2565 รองลงมาเป็น วิกฤตเฉพาะ (ที่เกิดเฉพาะพื้นที่ชุมชนของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้นๆ) เกิดขึ้น 9 ครั้ง สามช่วง (2544, 2555-2559 และ 2562-2566) รองลงมา เป็นวิกฤตเศรษฐกิจที่ทำให้ต้นทุนปัจจัยการผลิตสูง และผลผลิตการเกษตรราคาตกต่ำ เกิดขึ้น 6 ครั้ง แบ่งเป็นสองคือ ช่วงปี พ.ศ.2558-2561 และช่วงปี พ.ศ. 2556-2566) ตามลำดับ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การจัดการภาวะวิกฤตของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ในภาพรวมของสองขั้นตอนแรกอยู่ในระดับจัดการได้มากในทุกวิกฤต (ขั้นตอนที่ 1 การรับรู้ข้อมูลข่าวสารล่วงหน้าเกี่ยวกับสถานการณ์วิกฤตที่จะเกิดขึ้น และขั้นตอนที่ 2 เตรียมรับมือ และเตรียมความพร้อมป้องกัน) ส่วนในขั้นตอนการจัดการขั้นตอนที่ 3 คือ การตอบสนองต่อภาวะวิกฤต มีการจัดการได้มากที่สุด คือ วิกฤตเฉพาะ และวิกฤตที่มีการจัดการน้อยที่สุด คือ วิกฤตนโยบายด้านกฎหมาย ระบบราชการของภาครัฐ ขั้นตอนการจัดการวิกฤตถัดมาในขั้นตอนที่ 4 คือ ขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไข หลังจากจบเหตุการณ์ภาวะวิกฤต/สถานการณ์ มีการจัดการมากที่สุด คือ วิกฤตโรคระบาด โควิด-19 และ วิกฤตเฉพาะ (ที่เกิดเฉพาะพื้นที่ชุมชนของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้นๆ) วิกฤตที่มีการจัดการน้อยที่สุด คือ วิกฤตนโยบายด้านกฎหมาย ระบบราชการของภาครัฐ กับ วิกฤตธรรมชาติ (สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง) และขั้นตอนการจัดการสุดท้ายขั้นตอน 5 คือ การจัดการในช่วงการฟื้นฟู หลังวิกฤต/ระยะยาว การสนับสนุนจากภาครัฐ มีเพียง 3 วิกฤตที่ได้รับการฟื้นฟูจากภาครัฐ คือ วิกฤตโรคระบาด โควิด-19 วิกฤตธรรมชาติ (ไฟป่า) และวิกฤตเฉพาะ การวิเคราะห์ข้อมูลวิกฤตการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร พบว่า แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ 1) วิกฤตการภายในการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 16 แห่ง (ร้อยละ 21.6) มีสองประเภท คือ วิกฤตเฉพาะ และวิกฤตโรคระบาดในพืชหรือในสัตว์ โดยกลุ่มSF และ กลุ่มCF 8 แห่งเท่ากัน (ร้อยละ 50.0) โดยกลุ่ม SF ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเฉพาะ และวิกฤตโรคระบาดในพืช (ไม่มีวิกฤตโรคระบาดในสัตว์) ส่วนกลุ่มCF ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเฉพาะ และวิกฤตโรคระบาดในสัตว์ (ไม่มีวิกฤตโรคระบาดในพืช) และ2) วิกฤตการภายนอกการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 58 แห่ง (ร้อยละ 78.4) แบ่งเป็นกลุ่มSF 39 แห่ง (ร้อยละ 67.2) ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการภายนอกมากที่สุด ทั้งเจ็ดประเภท โดยวิกฤตโรคระบาด โควิด-19 มากที่สุด รองลงมาวิกฤตนโยบายด้านกฎหมาย ระบบราชการ และรัฐบาล,และ วิกฤตธรรมชาติ (สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง) เท่ากัน, กลุ่มSCF 4 แห่ง (ร้อยละ 6.9) เป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากจากวิกฤตการภายนอกท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 ประเภท คือ วิกฤตโรคระบาดโควิด-19, วิกฤตนโยบายด้านกฎหมาย ระบบราชการ และรัฐบาล และวิกฤตเศรษฐกิจ (ทำให้ต้นทุนปัจจัยการผลิตสูง และผลผลิตการเกษตรราคาตกต่ำ) เท่ากันทั้งสามประเภท และกลุ่มCF 15 แห่ง (ร้อยละ 25.9) ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการภายนอกท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4 ประเภท คือ วิกฤตโรคระบาด โควิด-19 ,วิกฤตธรรมชาติ (พายุฝนและน้ำป่า), วิกฤตเศรษฐกิจ (ทำให้ต้นทุนปัจจัยการผลิตสูง และผลผลิตการเกษตรราคาตกต่ำ) และวิกฤตนโยบายด้านกฎหมาย ระบบราชการของภาครัฐ ตามลำดับen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610851006-พนัส คำนันท์.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.