Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAmporn Jirattikorn-
dc.contributor.advisorChu, Ta-Wei-
dc.contributor.authorSeng Lien_US
dc.date.accessioned2024-07-24T16:17:02Z-
dc.date.available2024-07-24T16:17:02Z-
dc.date.issued2024-02-23-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79859-
dc.description.abstractIn Myanmar, the proliferation of Chinese agricultural investments, particularly in tissue-culture banana plantations, has been notably concentrated in Kachin State, the northernmost region bordered by China and India. Over the past decade, this influx of Chinese investment has led to large-scale and smaller instances of forceful land grabbing, resulting in significant loss of livelihoods, environmental degradation, and burgeoning resentment within the local communities, thereby fueling conflict in the region. This research delves into the factors driving the expansion of banana plantations in Kachin State, focusing on the “joint-venture” nature of Chinese investments and employing the concept of “land acquisition.” The study meticulously examines the process of land acquisition and the tactics utilized by investors in securing land for tissue-culture banana plantations in Kachin State. To dissect these tactics, the "powers of exclusion" framework is applied, particularly in a case study analysis of Mukchyik village, to scrutinize the strategies investors use to expropriate land from local communities. Moreover, the roles of local middlemen, ethnic armed organizations such as the Kachin Independence Organization, and local government officials are explored to comprehend the intricacies of the land acquisition process. This exploration seeks to uncover the multifaceted and often opaque interactions that facilitate or obstruct the encroachment of banana plantations. Additionally, employing the concept of social movements, this study investigates the resistance mounted by local communities against joint-venture investments in banana plantations within Waingmaw Township at the grassroots level. This analysis illuminates the resistance strategies employed by local communities and the political dynamics that influence the success or failure of such movements. The involvement of religious institutions, civil society organizations, and local authorities is also scrutinized to understand how these entities mobilize and sustain community efforts in opposition to the spread of tissue-culture banana plantations. Through this comprehensive study, the impact of foreign agricultural investments on local communities in Myanmar’s Kachin State is critically assessed, offering insights into the socio-political and environmental ramifications of such ventures.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectPowers of exclusionen_US
dc.subjectTissue-culture Banana Plantationen_US
dc.subjectJoint-venture Investmenten_US
dc.subjectLand Acquisitionen_US
dc.subjectLocal Resistace and social movementen_US
dc.titleLocal resistance against Chinese and Kachin joint-venture agribusiness investment on banana plantation: a case study of Mukchyik Village, Kachin State, Myanmaren_US
dc.title.alternativeการต่อต้านของท้องถิ่นต่อการลงทุนร่วมจีน-คะฉิ่นในธุรกิจสวนกล้วย: กรณีศึกษาหมู่บ้านมุกจิก รัฐคะฉิ่น เมียนมาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshBananas -- Planting-
thailis.controlvocab.lcshPlant tissue culture-
thailis.controlvocab.lcshInvestments, Chinese-
thailis.controlvocab.lcshLand capability for agriculture-
thailis.controlvocab.lcshLand use -- Burma-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในประเทศเมียนมา การขยายตัวของการลงทุนด้านการเกษตรของจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกกล้วยแบบเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนั้นกระจุกตัวอยู่ในรัฐกะฉิ่น ซึ่งเป็นพื้นที่ทางตอนเหนือสุดของเมียนมา ติดพรมแดนประเทศจีนและอินเดีย ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การลงทุนของจีนที่หลั่งไหลเข้ามาได้นำไปสู่การยึดที่ดินทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ส่งผลให้เกิดการสูญเสียวิถีชีวิต ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม และความไม่พอใจที่เพิ่มมากขึ้นในชุมชนท้องถิ่น ซึ่งส่งผลให้เกิดความขัดแย้งในภูมิภาค งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาถึงปัจจัยที่ผลักดันการขยายตัวของสวนกล้วยในรัฐกะฉิ่น โดยมุ่งเน้นไปที่ลักษณะ “การร่วมทุน” ของการลงทุนของจีน และใช้แนวคิดเรื่อง “การฉกฉวยที่ดิน” การศึกษานี้ตรวจสอบกระบวนการได้มาซึ่งที่ดินและกลยุทธ์ที่นักลงทุนใช้ในการจัดหาที่ดินสำหรับปลูกกล้วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในรัฐคะฉิ่น งานวิจัยชิ้นนี้ใช้กรอบแนวคิดเรื่อง “อำนาจในการกีดกัน” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวิเคราะห์กรณีศึกษาของหมู่บ้านมุกยจิก เพื่อพิจารณากลยุทธ์ที่นักลงทุนชาวจีนใช้ในการได้มาซึ่งที่ดินจากชุมชนท้องถิ่น นอกจากนี้ ยังทำการสำรวจบทบาทของพ่อค้าคนกลางในท้องถิ่น องค์กรติดอาวุธชาติพันธุ์ องค์กรเอกชนอิสระในรัฐคะฉิ่น และเจ้าหน้าที่รัฐท้องถิ่น เพื่อทำความเข้าใจความซับซ้อนของกระบวนการได้มาซึ่งที่ดิน การสำรวจนี้พยายามที่จะเปิดเผยปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุมที่คลุมเครือ ที่เอื้ออำนวยกระบวนการครอบครองที่ดิน การศึกษาครั้งนี้ยังใช้แนวคิดเรื่องขบวนการทางสังคมเพื่อศึกษาการต่อต้านที่เกิดขึ้นโดยชุมชนท้องถิ่นต่อการลงทุนร่วมทุนในสวนกล้วยภายในเมืองวายหม่อในระดับรากหญ้า การวิเคราะห์นี้ชี้ให้เห็นถึงกลยุทธ์การต่อต้านที่ใช้โดยชุมชนท้องถิ่นและพลวัตทางการเมืองที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการเคลื่อนไหวดังกล่าว รวมทั้งศึกษาการมีส่วนร่วมของสถาบัน ศาสนา องค์กรภาคประชาสังคม และหน่วยงานท้องถิ่น เพื่อทำความเข้าใจว่าหน่วยงานเหล่านี้มีส่วนร่วมในความพยายามของชุมชนเพื่อต่อต้านการยึดครองที่ดินและการขยายตัวของสวนกล้วยแบบเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออย่างไร งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาผลกระทบของการลงทุนด้านการเกษตรจากต่างประเทศต่อชุมชนท้องถิ่นในรัฐคะฉิ่น ในประเทศเมียนมาในเชิงลึกเพื่อชี้ให้เห็นถึงผลกระทบทางด้านสังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อมของการลงทุนดังกล่าวen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620435830 Seng Li...pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.