Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดา สวาทะนันทน์-
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.authorกันตยา ใจเสมอen_US
dc.date.accessioned2024-07-23T10:26:42Z-
dc.date.available2024-07-23T10:26:42Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79849-
dc.description.abstractThe study on Effects of Using a Learning Process Based on STEM Education on Scientific Concepts and Teamwork Collaboration Competency for Grade 6 Students aimed to 1) compare students’ scientific concepts before and after learning based on the STEM education learning process, and 2) study the teamwork and collaboration of students during the STEM education learning process. The population of this study was 25 students in Grade 6 of Anubannongpakrang School in the academic year 2023. The instruments in this research included a study plan based on the STEM education approach, a scientific concepts test, and a teamwork and collaboration observation form. Data analysis was performed using percentage, arithmetic mean, standard deviation, and relative developmental scores. The study results can be concluded as follows: 1. The scientific concepts of students using the STEM Education learning process showed a high level of development, with a developmental score of 75.26%. 2. The teamwork and collaboration of students using the STEM Education learning process were beyond expectations, with a percentage mean score of 89.39%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่มีต่อมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeEffects of using learning process based on STEM education on science concepts and teamwork collaboration competency for grade 6 studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง ผลการใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่มีต่อมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา และ 2) เพื่อศึกษาสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนระหว่างเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง ปีการศึกษา 2566 จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด สะเต็มศึกษา แบบวัดมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ และแบบประเมินสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี้ 1. มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาประกอบการจัดการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และมีพัฒนาการอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนร้อยละพัฒนาการเท่ากับ 75.26 2. สมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาอยู่ในระดับเหนือความคาดหวัง โดยมีร้อยละของคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 89.39en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640232021กันตยา ใจเสมอ.pdf14.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.