Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79803
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Wantida Chaiyana | - |
dc.contributor.advisor | Sasithorn Sirilun | - |
dc.contributor.advisor | Artit Yawootti | - |
dc.contributor.advisor | Wachara Kanjanakawinkul | - |
dc.contributor.author | Manasanan Mitchaleaw | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-18T11:23:11Z | - |
dc.date.available | 2024-07-18T11:23:11Z | - |
dc.date.issued | 2024-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79803 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to investigate the potential of Hedychium coronarium J. Koenig leaf and rhizomes extract as an active ingredient for antimicrobial properties, with a specific focus on anti-acne effects, and to incorporate the extract into bigel systems. The extracts of H. coronarium leaves and rhizomes were obtained through ethanolic extraction assisted by various pulse-electric field (PEF) treatments, including 10, 14, and 20 kV/cm. The chemical compositions of each extract were investigated by high-performance liquid chromatography. Each extract was assessed for its antimicrobial effects, focusing on acne treatment against Cutibacterium acnes, Pseudomonas aeruginosa, Staphylococcus aureus, Bacillus subtilis, Micrococcus luteus, and Escherichia coli. The most effective extract was further incorporated into the bigels. Several aspects influencing bigel systems were investigated, including the type and amount of hydrogelators or organogelators, as well as the hydrogel-to-organogel ratio. Polyvinyl alcohol, hydroxyethyl cellulose, xanthan gum, and acacia gum were used as hydrogelators in the present study, whereas organogelators included polyethylene glycol 400, PEG 40 hydrogenated castor oil, sorbitan monostearate, and glyceryl monostearate. The bigels were characterized for their structure and molecule arrangement using X-ray diffraction analysis, the chemical interactions between the components of the bigels using Fourier-transform infrared spectroscopy, the texture properties using a texture analyzer, and the microstrural properties using scanning electron microscopy. The findings noted that H. coronarium leaf extract from 20 kV/cm-PEF extraction displayed the most powerful inhibitory activity against all microorganisms with the lowest minimum inhibitory concentrations (MICs) of 0.6, 1.3, and 0.6 µg/ml against C. acnes, S. aureus, and P. aeruginosa, respectively. Therefore, it was selected for further incorporation into the bigel system, of which the suitable system was developed using the combination of PVA and acacia gum. The bigel containing H. coronarium leaf extract was a flexible translucent gel patch with good stability under the heating and cooling conditions. Incorporating of the extract had no impact on the chemical and crystalline structure of the bigels. The bigels containing 0.15% w/w H. coronarium leaf extract, which was 1,000 times of its MICs against the acne-related bacteria, exhibited a tensile strength of 5.52 ± 0.58 kg/cm2, an elongation of 7.15 ± 0.00%, and a Young’s modulus of 0.76 ± 0.08 kPa, indicating strong resistance, durability, and excellent flexibility. In conclusion, the bigel incorporating H. coronarium leaf extract proved to be suitable for use as a patch, exhibiting favorable aesthetic qualities. Therefore, PEF extraction was proposed as an environmentally friendly extraction process that could improve the extraction yield, the content of the biologically active compounds, and the antimicrobial effects of H. coronarium leaf, which were attractive for the cosmetic industry. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of bigels containing hedychium Coronarium Leaf Extract from high voltage pulsed electric field extraction for combating acne-related bacteria | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาไบเจลที่มีสารสกัดใบมหาหงส์ที่สกัดด้วยสนามไฟฟ้าแรงดันสูงแบบพัลส์สำหรับต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิว | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Electric fields | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Acne | - |
thailis.controlvocab.thash | Herbal cosmetics | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบศักยภาพของสารสกัดใบมหาหงส์และเหง้ามหาหงส์ เพื่อใช้เป็นสารออกฤทธิ์สำหรับคุณสมบัติต้านจุลชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อก่อสิวและเพื่อใช้สกัดมหาหงส์ในตำรับไบเจลสารสกัดจากใบและเหง้ามหาหงส์ได้มาจากการสกัดด้วยเอทานอลร่วมกับสนามไฟฟ้าแบบพัลส์ในความแรงที่ต่างกัน ได้แก่ 10, 14 และ 20 กิโลโวลต์ต่อเซนติเมตร จากนั้นวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดโดยใช้โครมาโตกราฟีของเหลวสมรรถนะสูงและได้รับการประเมินฤทธิ์ต้านจุลชีพ โดยมุ่งเน้นไปที่เชื้อก่อสิว ได้แก่ คิวติแบคทีเรียม แอคเนส ซูโดโมแนส แอรูจีโนซา และ สแตปฟิโลคอคคัส ออเรียส ซึ่งสารสกัดที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจะถูกนำไปพัฒนาเป็นตำรับไบเจล โดยการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อระบบไบเจล ซึ่งรวมถึงชนิดและปริมาณของสารก่อไฮโดรเจลหรือสารก่อออร์กาโนเจล ตลอดทั้งอัตราส่วนไฮโดรเจลต่อออร์กาโนเจล โพลีไวนิลแอลกอฮอล์ ไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส แซนแทนกัม และอะคาเซียกัม เป็นสารก่อไฮโดรเจล ในขณะที่สารก่อออร์กาโนเจล ได้แก่ โพลีเอทิลีนไกลคอล พีอีจี 40 ไฮโดรจีเนท แคสเตอร์ออยล์ ซอร์บิแทนโมโนสเตียเรต และกลีเซอรีลโมโนสเตียเรต นอกจากนี้ ยังศึกษาคุณลักษณะของระบบไบเจลในด้านโครงสร้างและการจัดเรียงโมเลกุลโดยใช้การวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ด้วยเทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชั่น ศึกษาปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างส่วนประกอบของไบเจลโดยใช้เทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปคโตรสโคปี วิเคราะห์เนื้อสัมผัสโดยใช้เครื่องเทกเจอร์อนาไลเซอร์ และศึกษาโครงสร้างจุลภาคโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ผลการวิจัยพบว่าสารสกัดจากใบมหาหงส์จากสารสกัดด้วยเครื่องสนามไฟฟ้าแบบพัลส์ในความแรงที่ 20 กิโลโวลต์ต่อเซนติเมตร แสดงฤทธิ์ยับยั้งที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดต่อจุลินทรีย์ทั้งหมด โดยมีความเข้มข้นในการยับยั้งต่ำสุดที่ 0.6 1.3 และ 0.6 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ที่สามารถต้านเชื้อ คิวติแบคทีเรียม ออเรียส และ แอรูจีโนซา ตามลำดับ ดังนั้นจึงได้รับเลือกให้รวมเข้ากับระบบไบเจลที่เหมาะสมได้รับการพัฒนาโดยใช้ส่วนผสมประกอบไปด้วยใช้โพลีไวนิลแอลกอฮอล์ อะคาเซียกัม ไบเจลที่ประกอบด้วยสารสกัดใบมหาหงส์ เป็นแผ่นเจลโปร่งแสงที่มีความยืดหยุ่น เป็นเนื้อเดียวกันและความสม่ำเสมอ พร้อมด้วยความคงตัวที่ดีหลังการทดสอบความคงตัวในสภาวะการทำในความร้อนและความเย็น การผสมผสานสารสกัดจากใบมหาหงส์ไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางเคมีและผลึกของระบบไบเจล ความเข้มข้นสูงสุดของสารสกัดจากใบมหาหงส์ ที่ร้อยละ 0.15 น้ำหนักต่อน้ำหนัก มีความต้านทานแรงดึงสูง 5.52 ± 0.58 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร การยืดตัวที่ 7.15 ± 0.00 เปอร์เซนต์และค่ายังโมดูลัสที่ 0.76 ± 0.08 กิโลปาสคาล ซึ่งแสดงถึงความต้านทานที่แข็งแกร่ง ความทนทานและความยืดหยุ่นที่ดีสุดโดยสรุปไบเจลที่ผสมผสานสารสกัดจากใบมหาหงส์ ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเหมาะสำหรับใช้เป็นแผ่นแปะ ซึ่งแสดงคุณสมบัติความสวยงามและคุณภาพที่ดี ดังนั้น การสกัดด้วยสนามไฟฟ้าแบบพัลส์ จึงถูกเสนอให้เป็นกระบวนการสกัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งสามารถพัฒนาผลผลิตการสกัด ปริมาณของสารประกอบออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และฤทธิ์ต้านจุลชีพของใบมหาหงส์ซึ่งน่าสนใจสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651031014 - MANASANAN MITCHALEAW.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.