Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79794
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตตวดี เหรียญทอง-
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.authorนิศานาถ พุทธวงค์en_US
dc.date.accessioned2024-07-18T01:15:42Z-
dc.date.available2024-07-18T01:15:42Z-
dc.date.issued2567-04-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79794-
dc.description.abstractPulmonary rehabilitation self-efficacy is a factor related to pulmonary rehabilitation behaviors. This correlational descriptive research aimed to investigate pulmonary rehabilitation self-efficacy, pulmonary rehabilitation behavior, and the relationship between pulmonary rehabilitation self-efficacy and pulmonary rehabilitation behaviors among older persons with chronic obstructive pulmonary disease. Participants were 93 older persons with chronic obstructive pulmonary disease attending Lee Hospital, Lamphun province, selected using sampling without replacement during December 2023 - February 2024. The research instruments used in this study were a demographic and illness data recording form, a pulmonary rehabilitation self-efficacy interview measurement, and a pulmonary rehabilitation behaviors interview measurement. The data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product-moment correlation. The results showed that: 1. Older persons with chronic obstructive pulmonary disease had a moderate level of self-efficacy in pulmonary rehabilitation, both overall and for each dimension, including general self-efficacy and specific self-efficacy in pulmonary rehabilitation. 2. Older persons with chronic obstructive pulmonary disease had a moderate level of pulmonary rehabilitation behaviors. 3. Pulmonary rehabilitation self-efficacy, both overall and for each dimension, including general self-efficacy and specific self-efficacy in pulmonary rehabilitation, had a positive correlation with pulmonary rehabilitation behaviors among older persons with chronic obstructive pulmonary disease at a high level, with p < .01 (r = 0.879, 0.878, and 0.843, respectively). The results of this study can be used as information for health care professionals caring for older persons with chronic obstructive pulmonary disease to modify pulmonary rehabilitation behaviors among this population by promoting pulmonary rehabilitation self-efficacy.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectPulmonary rehabilitation self-efficacyen_US
dc.subjectPulmonary rehabilitation behaviorsen_US
dc.subjectrehabilitation behaviorsen_US
dc.subjectOlder Personsen_US
dc.subjectChronic obstructive pulmonary diseaseen_US
dc.subjectการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดen_US
dc.subjectพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดen_US
dc.subjectผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectการรับรู้สมรรถนะแห่งตนen_US
dc.titleการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด และพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativePulmonary rehabilitation self-efficacy and pulmonary rehabilitation behaviors among older persons with Chronic obstructive pulmonary diseaseen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashปอด -- โรค-
thailis.controlvocab.thashปอด -- หลอดเลือด -- โรค-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- โรค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดเป็นหนึ่งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาความสัมพันธ์ (correlational descriptive research) เพื่อศึกษาการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด พฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด และความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดและพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มารับบริการโรงพยาบาลลี้ จังหวัดลำพูน จำนวน 93 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบไม่แทนที่ทดแทน ระหว่าง เดือนธันวาคม 2566 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2567 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลการเจ็บป่วย แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด และแบบสอบถามพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านการรับรู้สมรรถนะแห่งตนทั่วไป และด้านการรับรู้สมรรถนะแห่งตนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมีพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดอยู่ในระดับปานกลาง 3. การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านการรับรู้สมรรถนะแห่งตนทั่วไป และด้านการรับรู้สมรรถนะแห่งตนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (r = 0.879, 0.878, 0.843, p < 0.01 ตามลำดับ) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในการปรับพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้สูงอายุโรคปอด อุดกั้นเรื้อรังให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้นผ่านการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641231160-นิศานาถ พุทธวงค์-watermark.pdf5.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.