Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79778
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรกฎ ใยบัวเทศ ทิพยาวงศ์-
dc.contributor.authorจิดาภา ชาญเจริญen_US
dc.date.accessioned2024-07-17T00:49:04Z-
dc.date.available2024-07-17T00:49:04Z-
dc.date.issued2567-05-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79778-
dc.description.abstractThis research emphasizes the importance of knowing the amount of biomass from agricultural residues generated by cultivation activities. It studies and analyzes the components of the biomass supply chain to indicate the readiness of resources that reflect the biomass demand. Therefore, this research forecasts biomass from agricultural residues of five key economic crops and biomass resources for biomass power plants in the northern region, covering 17 provinces in northern Thailand. Historical data related to agricultural production are used as factors in forecasting by applying machine learning models. The ARIMA model is used to forecast leading indicators, and five regression models and one neural network model are employed to determine the most suitable model for the given dataset. The data is divided into 80% for training and 20% for testing. The results include the factors used in the models and the optimal variables for forecasting each crop. Additionally, the forecasted yields are used to calculate agricultural residues and the biomass energy for biomass power plants. It is found that Nakhon Sawan, Kamphaeng Phet, and Phetchabun have the highest amounts of agricultural residues in the northern region, leading to a concentration of biomass power plants in these areas. Thus, knowing agricultural production through forecasting with machine learning applications can reflect the readiness of resources to meet the biomass demand in the northern region in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องในการพยากรณ์ความต้องการโซ่อุปทานของเศษวัสดุทางการเกษตรสำหรับโรงไฟฟ้าชีวมวลen_US
dc.title.alternativeMachine learning application to supply chain demand forecasting of Agro-residues for biomass power plantsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าชีวมวล-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้ของเครื่อง-
thailis.controlvocab.thashวัสดุทางการเกษตร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เล็งเห็นความสำคัญของการทราบปริมาณชีวมวลที่เกิดเศษวัสดุทางการเกษตรจากกิจกรรมการเพาะปลูก จึงได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบของโซ่อุปทานของชีวมวลที่สามารถช่วยแสดงถึงความพร้อมของทรัพยากรที่สะท้อนความต้องการชีวมวลได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงได้ทำการพยากรณ์ชีวมวลจากเศษวัสดุทางการเกษตรที่เป็น 5 พืชเศรษฐกิจสำคัญและแหล่งทรัพยากรชีวมวลสำหรับโรงไฟฟ้าชีวมวลของภาคเหนือในพื้นที่ภาคเหนือ 17 จังหวัดของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลในอดีตที่เกี่ยวข้องกับผลผลิตทางการเกษตรมาเป็นปัจจัยในการพยากรณ์ด้วยการประยุกต์ใช้กับแบบจำลองการเรียนรู้ของเครื่อง ซึ่งได้นำแบบจำลอง ARIMA มาพยากรณ์ผลของปัจจัยล่วงหน้า และได้ใช้แบบจำลองทำนายผลผลิตด้วยแบบจำลองของหลักการการถดถอย 5 แบบจำลอง และโครงข่ายร่างประสาทเทียม 1 แบบจำลอง เพื่อหาแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุดสำหรับชุดข้อมูลที่มีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง สำหรับการประมวลผลของแบบจำลองได้ถูกแบ่งชุดข้อมูลไว้สำหรับฝึก 80 เปอร์เซ็นต์ และสำหรับการทดสอบ 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือปัจจัยที่ใช้แบบจำลองและค่าตัวแปรที่เหมาะสมสำหรับพยากรณ์พืชชนิดนั้น ๆ นอกจากนี้ ได้นำผลผลิตจากการพยากรณ์มาคำนวณหาเศษวัสดุทางการเกษตรและคำนวณค่าพลังงานชีวมวลสำหรับโรงไฟฟ้าชีวมวล พบว่าได้แก่ นครสวรรค์ กำแพงเพชร และเพชรบูรณ์ มีปริมาณการเกิดเศษวัสดุทางการเกษตรมากที่สุดในภาคเหนือ เป็นผลให้มีโรงไฟฟ้าชีวมวลตั้งอยู่บริเวณนั้นมากที่สุดด้วยเช่นกัน ดังนั้นการทราบถึงปริมาณผลผลิตทางการเกษตรด้วยการพยากรณ์โดยการประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องจะช่วยสะท้อนถึงความพร้อมทรัพยากรที่จะรองรับความต้องการชีวมวลของพื้นที่ภาคเหนือได้ในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631133-จิดาภา ชาญเจริญ.pdf26.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.