Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79772
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา | - |
dc.contributor.author | ณัชชา อุทัยวรรณพร | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-16T01:35:50Z | - |
dc.date.available | 2024-07-16T01:35:50Z | - |
dc.date.issued | 2024-05-30 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79772 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study the use of quality improvement tools, including Total Productive Maintenance (TPM), 5S Activities, Standardize Work, Visual Control, Waste Elimination, and Kaizen , and their effects on productivity components and quality of work life. The study emphasizes human resources, the core of the organization. Data were collected using a questionnaire through convenience sampling from 200 of operational and supervisory employees in the production section of four factory branches:Kamphaeng Phet, Saraburi, Khon Kaen and Nava Nakhon of Thai Containers Group Company Limited. Descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, and standard deviation were used for data analysis, along with inferential statistics, including Pearson correlation and multiple regression analysis, to determine the relationships between variables. The results indicate that the quality improvement tools significantly impact the productivity components of Thai Containers Group Company Limited. These tools include Standardize Work, Visual Control, Waste Elimination, and Kaizen, which collectively predict the productivity with a statistical significance level of 0.01 and be predictable of 72.60%. Additionally, the quality improvement tools affecting the quality of work life of employees include Visual Control, Waste Elimination, and kaizen, which collectively predict the quality of work life with a statistical significance level of 0.01 and be predictable of 54.80%. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลกระทบของเครื่องมือในการปรับปรุงคุณภาพต่อองค์ประกอบของการเพิ่มผลิตภาพของบริษัทกลุ่ม สยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด | en_US |
dc.title.alternative | Impact of quality improvement tools on productivity components of Thai Containers Group Company Limited | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | บริษัทกลุ่ม สยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมกระบวนการผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมคุณภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารงานผลิต | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการใช้เครื่องมือการปรับปรุงคุณภาพ ได้แก่ การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนรวม 5ส งานมาตรฐาน การควบคุมด้วยการมองเห็น การกำจัดการสูญเปล่า และกิจกรรมการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องที่ส่งผลต่อองค์ประกอบของการเพิ่มผลิตภาพ และคุณภาพชีวิตของการทำงานที่ให้ความสำคัญในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นหัวใจหลักขององค์กร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยการสุ่มตามความสะดวกจากพนักงานระดับปฏิบัติการและบังคับบัญชาแผนกผลิตของโรงงานกลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด ใช้แบบสอบถามเก็บให้ครบจำนวนตัวอย่าง 200 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ด้วยค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ผลกระทบของเครื่องมือในการปรับปรุงคุณภาพต่อองค์ประกอบของการเพิ่มผลิตภาพของบริษัทกลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด ประกอบด้วยงานมาตรฐาน การควบคุมด้วยการมองเห็น การขจัดความสูญเปล่า และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยทั้งสี่ตัวแปรสามารถร่วมกันพยากรณ์การเพิ่มผลิตภาพของบริษัทกลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และมีอำนาจทำนาย ร้อยละ 72.60 และผลกระทบของเครื่องมือในการปรับปรุงคุณภาพต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทกลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด ประกอบด้วย การควบคุมด้วยการมองเห็น การขจัดความสูญเปล่า และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยทั้งสามตัวแปรสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทกลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และมีอำนาจทำนาย ร้อยละ 54.80 | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621532058 ณัชชา อุทัยวรรณพร.pdf | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.