Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79764
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฐมาวดี จงรักษ์ | - |
dc.contributor.author | วีรกานต์ แสงจ่า | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-15T10:03:20Z | - |
dc.date.available | 2024-07-15T10:03:20Z | - |
dc.date.issued | 2024-06-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79764 | - |
dc.description.abstract | This research study aims to investigate the problems, obstacles, and limitations in the operations, as well as to study the appropriate and feasible form of blockchain technology that can be applied to customs operations. Moreover, seen to provide recommendations and opinions on guidelines for the Blockchain Technology Development of the Chiang Mai Airport Customs House. The research employed a qualitative approach by collecting data from relevant research documents and semi-structured interviews as the tools for the data collection from 12 key informants, including Customs officers, administrators of Chiang Mai Airport Customs House, information technology officers from the Customs Department, and officers from related agencies. Therefore, the collected data was analyzed with content analysis. The research findings revealed that the problems and obstacles arising from operational limitations, such as the incomplete integration of electronic databases among related agencies, legal and regulatory constraints, and insufficient human resources to handle the workload. The findings pointed that the most critical area that need to provide the blockchain technology to use for solves the problems and reduce the limitations was Customs Control and Inspection Division. The private blockchain technology was deemed appropriate and feasible for this purpose and aligning with the mission of enhancing social protection capabilities through Customs control systems. The research recommendations included revising regulations or laws before implementing blockchain technology and creating knowledge management (KM) for Customs officers and all stakeholders involved in Customs procedures. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในภารกิจศุลกากรของด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for the blockchain technology development of the Chaing Mai Airport customs house | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ท่าอากาศยานเชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | บล็อกเชน | - |
thailis.controlvocab.thash | ศุลกากร | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษางานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหา อุปสรรคและข้อจำกัดในการปฏิบัติงาน และศึกษารูปแบบของเทคโนโลยีบล็อกเชนที่มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ที่จะนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานศุลกากร รวมไปถึงการศึกษาเพื่อหาข้อเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในภารกิจของด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่ ใช้วิธีการศึกษางานวิจัยเชิงคุณภาพโดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 12 คน ได้แก่ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานศุลกากร กลุ่มผู้บริหารของด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่ เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศของกรมศุลกากร และเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และนำข้อมูลที่รวบรวมนำมาวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Content Analysis ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากข้อจำกัดในการปฏิบัติงาน เรื่องของระบบการเชื่อมโยงในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่สามารถดำเนินการ ได้อย่างสมบูรณ์ เรื่องข้อจำกัดในข้อกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ และการขาดทรัพยากรบุคคลที่เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีไม่เพียงพอต่อปริมาณของงาน และส่วนงานที่เห็นควรจะต้องนำเทคโนโลยีบล็อกเชนมาใช้ในการปฏิบัติงาน แก้ไขปัญหา อุปสรรคและลดข้อจำกัดที่จำเป็นมากที่สุด คือ ฝ่ายควบคุมและตรวจสอบทางศุลกากร มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการนำ Private Blockchain ที่สอดคล้องกับภารกิจด้านการเพิ่มขีดความสามารถในการปกป้องสังคมให้ปลอดภัยด้วยระบบควบคุมทางศุลกากร โดยมีข้อเสนอแนะในการวิจัยในครั้งนี้เห็นควรมีการปรับปรุงและแก้ไขระเบียบปฏิบัติหรือ ข้อกฎหมายที่จำเป็นก่อนก่อนการที่จะนำเทคโนโลยีบล็อกเชนเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงานและควรมีการสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Management) แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานศุลกากรให้มากขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651932034 - นางสาววีรกานต์ แสงจ่า.pdf | 10.63 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.