Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิสระ บุญญะฤทธิ์-
dc.contributor.authorสัตตบงกช ธนมิลินกุลen_US
dc.date.accessioned2024-07-14T04:20:01Z-
dc.date.available2024-07-14T04:20:01Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79742-
dc.description.abstractThe current study were (1) to examine the relationship between work as a calling, person - environment fit and career engagement and (2) to study the mediating role of congruence between the person - environment fit in the relationship between work as a calling and career engagement. Participants were 324 rescue volunteers in the northern part of Thailand. The research instruments were personal characteristics questionnaire, the Work as a Calling Scale, the Person - Environment Fit Scale and the Career Engagement Scale. Data were analyzed using the Causal Steps method and Sobel's Test. The research results found that work as a calling could significantly predict career engagement and person - environment fit. Person - environment fit could significantly predict career engagement. The work as a calling had an indirect effect on career engagement through person - environment fit.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างงานที่ดลใจและความผูกพันต่ออาชีพของอาสาสมัครกู้ภัย: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การen_US
dc.title.alternativeRelationship between work as a calling and career engagement of rescue volunteers: Mediating role of person - environment fiten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครในงานบริการสังคม -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครในงานบริการสังคม -- ความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครในงานบริการสังคม -- ความผูกพันต่อองค์การ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างงานที่ดลใจ ความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การ และความผูกพันต่ออาชีพ และเพื่อศึกษาบทบาทของความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การในการเป็นตัวแปรสื่อในความสัมพันธ์ระหว่างงานที่ดลใจกับความผูกพันต่ออาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครกู้ภัยในเขตภาคเหนือโดยวิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก จำนวน 324 คน แบบสอบถามที่ประกอบด้วยแบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล แบบวัดงานที่ดลใจ แบบวัดความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การ และแบบวัดความผูกพันต่ออาชีพ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการถดถอยพหุคูณโดยใช้วิธี Causal Steps และการคํานวณค่าสถิติของโซเบล (Sobel’s Test) ผลการวิจัย พบว่า งานที่ดลใจสามารถทำนายความผูกพันต่ออาชีพ และทำนายความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การสามารถทำนายความผูกพันต่ออาชีพ และงานที่ดลใจส่งผลทางอ้อมผ่านความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การไปสู่ความผูกพันต่ออาชีพen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620132022-Satabongkod Thanamilingul.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.