Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญพนมพร ธรรมไทย-
dc.contributor.advisorภัทราภรณ์ ภทรสกุล-
dc.contributor.authorชุติมา ศรียี่ทองen_US
dc.date.accessioned2024-07-12T01:14:29Z-
dc.date.available2024-07-12T01:14:29Z-
dc.date.issued2567-04-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79715-
dc.description.abstractVillage Health Volunteers (VHVs) serve as a primary mechanism for promoting community health in parallel with healthcare personnel. They face changing situations and heavy workloads, which may lead to stress and psychological distress. Resilient coping may reduce psychological distress. The objective of this correlational research was to study the levels of resilient coping and psychological distress, and the relationship between resilient coping and psychological distress in VHVs. The sample group consisted of 384 VHVs. The data collection tools included: 1) a personal information questionnaire; 2) the Brief Resilient Coping Scale (BRCS); and 3) the Kessler Psychological Distress Scales (K10). Data analysis used both inferential statistics and Spearman's rank correlation coefficient. The research findings were as follows: 1) The majority of volunteer health workers demonstrated resilient coping at a low (58.63%), moderate (10.2%), or high (11.2%) level. 2) Volunteer health workers had normal levels of psychological distress at 57% with abnormal levels categorized as mild (22.4%), moderate (18.2%), and severe distress (2.3%). 3) There was a negative correlation between resilient coping and psychological distress among volunteer health workers, with statistical significance at the level of .05 (r = -.138). The findings of this research can serve as foundational data for promoting resilient coping in Village Health Volunteers, which may help reduce the incidence of psychological distress.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่นen_US
dc.subjectความทุกข์ทางใจen_US
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.titleการเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่นและความทุกข์ทางใจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.title.alternativeResilient coping and psychological distress of village health volunteersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครสาธารณสุข-
thailis.controlvocab.thashความทุกข์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนสุขภาพภาคพื้นประชาชน คู่ขนานไปกับบุคลากรทีมสุขภาพ การเผชิญสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และภาระงาน ที่มาก อาจเกิดความเครียด และอาจส่งผลให้เกิดความทุกข์ทางใจ การเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่น อาจทำให้การเกิดความทุกข์ทางใจน้อยลง การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่น ความทุกข์ทางใจ และความสัมพันธ์ระหว่างการเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่นและความทุกข์ทางใจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่าง คือ อสม. จำนวน 384 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบวัดการเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่นฉบับย่อ 3) แบบประเมินความทุกข์ทางใจ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า 1. อสม. ส่วนใหญ่มีระดับของการเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่นอยู่ที่ระดับต่ำ ร้อยละ 58.63 ปานกลาง และมาก ร้อยละ 10.2 และ 11.2 ตามลำดับ 2. อสม. มีระดับความทุกข์ทางใจอยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 57 และมีความทุกข์ทางใจผิดปกติ ซึ่งแบ่งได้ 3 ระดับ คือผิดปกติเล็กน้อย ปานกลาง และรุนแรง ร้อยละ 22.4 18.2 และ 2.3ตามลำดับ 3. การเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่น และความทุกข์ทางใจของอสม. มีความสัมพันธ์กันในทางลบ ในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = -.138) ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมให้อสม. มีการเผชิญปัญหาแบบยืดหยุ่น ที่อาจช่วยลดอุบัติการณ์ในการเกิดความทุกข์ทางใจได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641231013-ชุติมา ศรียี่ทอง.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.