Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79699
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะวรรณ สุทธิประพันธ์-
dc.contributor.advisorวิชัย ศรีสุขา-
dc.contributor.authorธีรพันธ์ ดอกจันทร์en_US
dc.date.accessioned2024-07-11T11:27:15Z-
dc.date.available2024-07-11T11:27:15Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79699-
dc.description.abstractSpecies Diversity and Distribution of Scorpionfly in Thailand aims to study species and distribution, relationships between species, climatic factors and study taxonomic characteristics of Mecoptera in 29 sampling points in national parks and wildlife sanctuaries. The study was conducted by randomly placing Malaise traps and pan traps. A total of 797 specimens were classified to 21 species in 4 genera and 2 families, 2 species of the Bittacidae family, including Bittacus leptocaudus and Terrobittacus sp., 19 species of the Panorpidae family, including Neopanorpa angustipennis, N. appendicema, N. arcuata, N. byersi, N. cuspidata, N. harmandi, N. inchoata, N. infuscata, N. latiseparata, N. malaisei, N. nielseni, N. normpennyi, N. pendulifera, N. setosiloba, N. siamensis, N. spatulata, N. thai, N. tuberosa and Panorpa apscisacera. The most abundance species was N. harmandi (27.48%), followed by N. siamensis (11.29%), N. byersi (10.29%), N. malaisei (8.78%) and N. spatulata (7.28%) respectively. In this study, N. cuspidata was found as a doubleton species, while N. latiseparata was as a singleton species. Moreover, Terrobittacus sp. was discovered for the first time in Thailand. The abundance and species richness peaks at altitudes of 501 - 1000 meters above sea level also in rainy season, the 50% of total specimens was collected and 66.67% of species in all altitudes were found, N. harmandi is the predominant species. Pha Tang Substation (A8) in Doi Chiang Dao Wildlife Sanctuary is the sampling point with the highest abundance representing 10.54% of the total specimens, N. spatulata was the predominant species. Doi Phaluang (A2) in Doi Pha Hom Pok National Park is the sampling point with the highest species richness accounting for 33.33% of all species were found, N. arcuata is the predominant species.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแมลงแมงป่องen_US
dc.subjectแมลงแมงป่องห้อยen_US
dc.subjectความหลากชนิดen_US
dc.subjectMecopteraen_US
dc.subjectBittacidaeen_US
dc.subjectPanorpidaeen_US
dc.subjectScorpionflyen_US
dc.titleความหลากหลายของชนิดและการแพร่กระจายตัวของแมลงแมงป่องในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSpecies diversity and distribution of scorpionfly in Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแมลง -- การกระจายพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashกีฏวิทยา-
thailis.controlvocab.thashแมลง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการสำรวจความหลากหลายของชนิดและการแพร่กระจายตัวของแมลงแมงป่องในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดและการแพร่กระจาย ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดและสภาพพื้นที่อาศัย และลักษณะอนุกรมวิธานของแมลงแมงป่อง ทำการศึกษาในพื้นที่อุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ รวมทั้งสิ้น 29 จุดเก็บตัวอย่าง โดยสุ่มวางกับดักมุ้ง และกับดักถาด ผลการศึกษาตัวอย่างแมลงแมงป่องทั้งหมด 797 ตัวอย่าง จำแนกได้ 21 ชนิด 4 สกุล 2 วงศ์ คือ วงศ์ Bittacidae 2 ชนิด ได้แก่ Bittacus leptocaudus และ Terrobittacus sp. วงศ์ Panorpidae 19 ชนิด ได้แก่ Neopanorpa angustipennis, N. appendicema, N. arcuata, N. byersi, N. cuspidata, N. harmandi, N. inchoata, N. infuscata, N. latiseparata, N. malaisei, N. nielseni, N. normpennyi, N. pendulifera, N. setosiloba, N. siamensis, N. spatulata, N. thai, N. tuberosa และ Panorpa apscisacera ชนิดที่พบมากที่สุดคือ N. harmandi (27.48%) รองลงมาคือ N. siamensis (11.29%), N. byersi (10.29%), N. malaisei (8.78%) และ N. spatulata (7.28%) ตามลำดับ ในการศึกษานี้พบแมลงแมงป่องชนิด N. cuspidata เป็น doubleton species และชนิด N. latiseparata เป็น singleton species นอกจากนี้ยังพบแมลงแมงป่องสกุล Terrobittacus sp. เป็นครั้งแรกในประเทศไทย ความชุกชุมและความหลากชนิดของแมลงแมงป่องสูงสุดในพื้นที่ความสูง 501 - 1000 เมตรจากระดับน้ำทะเล และในช่วงฤดูฝน โดยมีค่าร้อยละความชุกชุมคิดเป็นร้อยละ 50 ของตัวอย่างทั้งหมด และมีร้อยละความหลากชนิดเท่ากับ 66.67 ของชนิดที่พบทั้งหมด พบชนิด N. harmandi เป็นชนิดเด่น สำหรับจุดเก็บตัวอย่างที่มีความชุกชุมสูงสุดคือ จุดหน่วยพิทักษ์ป่าสนห้วยผาตั้ง (A8) ใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว คิดเป็นร้อยละ 10.54 ของตัวอย่างทั้งหมด โดยมีแมลงแมงป่องชนิด N. spatulata เป็นชนิดเด่น สำหรับจุดเก็บตัวอย่างที่มีความหลากชนิดสูงสุดคือ จุดดอยผาหลวง (A2) ในอุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก คิดเป็นร้อยละ 33.33 ของชนิดที่พบทั้งหมด โดยมีแมลงแมงป่องชนิด N. arcuata เป็นชนิดเด่นen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630831021 ธีรพันธ์ ดอกจันทร์.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.