Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศรษฐ์ สัมภัตตะกุล-
dc.contributor.authorอภิวิชญ์ จันทร์ใสen_US
dc.date.accessioned2024-07-08T10:38:07Z-
dc.date.available2024-07-08T10:38:07Z-
dc.date.issued2024-05-27-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79666-
dc.description.abstractThis research abstract aims to investigate and enhance the assessment criteria for firebreaks and propose efficient management strategies for firebreaks in community network environments. The study, conducted across seven case study villages, examines both baseline firebreaks and incorporates insights from interviews with personnel directly involved in firebreak planning. Two sets of criteria were identified: firebreak size, consisting of 3 main (9 sub) criteria, and firebreak management, consisting of 5 main (14 sub) criteria. Utilizing the Analytical Hierarchy Process (AHP), a comparative analysis was conducted with data collected from eight experts in wildfire prevention planning. The research identifies critical criteria for selecting firebreak sizes, emphasizing factors such as assessing slope (30.05%), distance from the community center (17.77%), evaluating elevation (15.39%), accumulated fuel quantity (10.09%), and forest characteristics (7.46%). Additionally, key criteria for effective firebreak management include hiring personnel and labor (16.50%), preparing tools and equipment compatible with the area (10.73%), applying research and technology (8.67%), acquiring machinery and equipment (8.59%), frequency of area management (8.55%), transportation of personnel and equipment (8.00%), timeframes for area management (7.67%), and defining responsibility boundaries for area management (7.33%). The research employs Activity-Based Costing (ABC) to analyze the costs associated with fire prevention, revealing that the highest cost activity is fire patrol, followed by firebreak and then planning and surveying activities. Furthermore, key criteria and activity costs were analyzed to develop a plan by comparing three alternatives under the criteria using the Analytic Hierarchy Process (AHP), and all weights were proposed into the Benefit Cost Ratio formula. The third alternative had the highest ratio at 1.051. Therefore, it is considered as an assessment of suitable fire prevention measures, along with proposing fuel management strategies derived from the study to align with fire prevention activities and being able to apply them efficiently to small community areas in other case studies.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินแนวกันไฟที่เหมาะสมสำหรับหมู่บ้านขนาดเล็กโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้นen_US
dc.title.alternativeEvaluation of suitable firebreak for small village using analytic hierarchy processen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการป้องกันอัคคีภัย -- การตรวจสภาพ-
thailis.controlvocab.thashหมู่บ้าน -- อัคคีภัยและการป้องกันอัคคีภัย-
thailis.controlvocab.thashหมู่บ้าน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและพัฒนาเกณฑ์การประเมินแนวกันไฟและเสนอแนวทางการบริหารจัดการแนวกันไฟให้มีประสิทธิภาพในพื้นที่ชุมชนเครือข่ายสิ่งแวดล้อมกรณีศึกษา 7 หมู่บ้าน โดยศึกษาแนวกันไฟกรณีฐานและสัมภาษณ์บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทำแนวกันไฟเพื่อคัดเลือกหลักเกณฑ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจในประเด็นของการเลือกขนาดแนวกันไฟประกอบด้วย 3 เกณฑ์หลัก (9 เกณฑ์รอง) และการบริหารจัดการแนวกันไฟประกอบด้วย 5 เกณฑ์หลัก (14 เกณฑ์รอง) และเปรียบเทียบหลักเกณฑ์โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้น ซึ่งจัดทำแบบสอบถามและเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญด้านแผนงานป้องกันไฟ จำนวน 8 ท่าน ผลการวิจัยพบว่าหลักเกณฑ์ที่สำคัญในการเลือกขนาดแนวกันไฟ คือ ประเมินความลาดชันของพื้นที่ (30.05%) ระยะทางจากศูนย์กลางชุมชน (17.77%) ประเมินระดับความสูงของพื้นที่ (15.39%) ปริมาณเชื้อเพลิงที่สะสมในพื้นที่ (10.09%) และลักษณะและประเภทป่าไม้ (7.46%) และหลักเกณฑ์ที่สำคัญในการเลือกการบริหารจัดการแนวกันไฟ คือ ว่าจ้างบุคลากรและแรงงาน (16.50%) จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับพื้นที่ (10.73%) ประยุกต์ใช้งานวิจัยและเทคโนโลยี (8.67%) จัดหาเครื่องจักรและอุปกรณ์ (8.59%) ความถี่ในการจัดการพื้นที่ (8.55%) การขนส่งกำลังพลและอุปกรณ์ (8.00%) ช่วงเวลาในการจัดการพื้นที่ (7.67%) และกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบในการจัดการพื้นที่ (7.33%) การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการทำแนวกันไฟในพื้นที่กรณีศึกษาโดยใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม พบว่ามีต้นทุนสูงสุดในกิจกรรมเฝ้าระวังไฟ รองลงมาคือ กิจกรรมทำแนวกันไฟ และกิจกรรมวางแผนสำรวจ ตามลำดับ จากนั้นนำผลการวิเคราะห์หลักเกณฑ์ที่สำคัญและข้อมูลต้นทุนจัดทำแผนโดยเปรียบเทียบทางเลือกภายใต้หลักเกณฑ์โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้น ทั้งหมด 3 ทางเลือก และหาค่าอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน พบว่าทางเลือกที่สามมีค่าอัตราส่วนสูงที่สุดเท่ากับ 1.951 พิจารณาให้เป็นการประเมินแนวกันไฟที่เหมาะสม พร้อมเสนอแนวทางการบริหารจัดการเชื้อเพลิงจากผลการศึกษาให้สอดคล้องกับกิจกรรมการทำแนวกันไฟและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่กรณีศึกษาอื่นที่เป็นหมู่บ้านขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632070-อภิวิชญ์ จันทร์ใส.pdf5.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.