Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79662
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.author | ศราวุธ นนทะธรรม | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-08T10:04:17Z | - |
dc.date.available | 2024-07-08T10:04:17Z | - |
dc.date.issued | 2024-05-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79662 | - |
dc.description.abstract | This study aimed of this research were 1) to examined the current conditions, expectations, and essential needs for implementing a project focused on the development of children and youth in remote areas within educational institutions under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office;2) investigated the operations related to the project in educational institutions practicing exemplary methods for developing children and youth in remote areas under the Secondary Educational Service Area Office; and 3) formulated and scrutinized guidelines for the effective implementation of the child and youth development project in remote areas through the collaborative efforts of educational institutions under the Secondary Educational Service Area Office. The study was structured into three stages, involving a target group comprising educational institution administrators, teachers responsible for the project's goals in remote areas, and experts, totaling 132 participants. Data collection methods encompassed questionnaires, interviews, workshops, and inspection tools, including questionnaires, interview forms, workshop meeting agendas, and guidelines check forms. Statistical analyses employed measures such as frequency, percentage, mean, standard deviation, sorting, and inductive synthesis of issues The study's findings revealed the following: 1. In the execution of the project to develop children and youth in remote areas within educational institutions under the Secondary Educational Service Area Office, all four goals attained the highest level. Goal 4, focusing on strengthening the potential of children and youth in careers, ranked first, followed by Goal 8: Developing educational institutions as knowledge service centers, Goal 7: Expanding development from schools to communities, and Goal 3: Strengthening the potential of children and youth academically and ethically. 2. Performance evaluation of the Children and Youth Development Project in remote areas within educational institutions under the Secondary Educational Service Area Office, particularly in institutions adopting best practices, reveals joint planning meetings with stakeholders and external agencies, systematic analysis of development guidelines, and continuous joint monitoring and evaluation. 3. Guidelines for implementing the project emphasize the power of partnership and cooperation among educational institutions under the Secondary Educational Service Area Office. These guidelines incorporate four elements: objectives, principles, methods, and success conditions. The quality management process (PDCA) is applied to each of the four goals, ensuring activities leveraging the power of partnership and cooperation in developing children and youth in remote areas are accurate, appropriate, and feasible. The overall effectiveness of the implementation surpasses the set criteria in every aspect. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร โดยใช้พลังการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Guideline for operating the children and youth development program in remote areas by leveraging power of cooperative partnerships with educational institutions attached to the secondary educational service area office | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียน -- ไทย (ภาคเหนือ) | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็ก -- ไทย (ภาคเหนือ) | - |
thailis.controlvocab.thash | เยาวชน -- ไทย (ภาคเหนือ) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ความคาดหวัง และความต้องการจำเป็นในการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 2) ศึกษาการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาของสถานศึกษาที่ปฏิบัติที่ดี 3) จัดทำและตรวจสอบแนวทางการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารโดยใช้พลังการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ขั้นตอน กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบตามเป้าหมายในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร และผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 132 คน ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ วาระการประชุมเชิงปฏิบัติการ และแบบตรวจสอบแนวทางฯ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เรียงลำดับ และการสังเคราะห์ประเด็นโดยสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษา พบว่า 1. ความต้องการจำเป็นในการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ใน 4 เป้าหมาย โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยรายข้อเรียงลำดับจากมากไปน้อย พบว่า ลำดับแรก คือ เป้าหมายที่ 4 เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางการงานอาชีพ ลำดับที่ 2 เป้าหมายที่ 8 พัฒนาสถานศึกษาเป็นศูนย์บริการความรู้ ลำดับที่ 3 เป้าหมายที่ 7 ขยายการพัฒนาจากโรงเรียนสู่ชุมชน และลำดับสุดท้าย คือ เป้าหมายที่ 3 เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางวิชาการและทางจริยธรรม 2. ผลการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ของสถานศึกษาที่ปฏิบัติที่ดี พบว่า สถานศึกษามีการประชุมวางแผนคณะทำงานร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและหน่วยงานภายนอก วิเคราะห์แนวทางในการพัฒนา และดำเนินการติดตามประเมินผลร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 3. แนวทางการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารโดยใช้พลังการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาที่พัฒนาขึ้นมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) วัตถุประสงค์ 2) หลักการ 3) วิธีการ และ4) เงื่อนไขความสำเร็จ ในส่วนของวิธีการใช้กระบวนการบริหารวงจรคุณภาพ (PDCA) ในแต่ละเป้าหมายทั้ง 4 เป้าหมายโดยมีกิจกรรมพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารที่ใช้พลังการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือ มีผลการตรวจสอบ ความถูกต้อง ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ระดับมากที่สุด และผ่านเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ทุกด้าน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232087 ศราวุธ นนทะธรรม.pdf | 17.89 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.