Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79645
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRuth Sirisunyaluck-
dc.contributor.advisorJuthathip Chalermphol-
dc.contributor.advisorBudsara Limnirankul-
dc.contributor.authorWeerapong Paleeen_US
dc.date.accessioned2024-07-07T03:43:12Z-
dc.date.available2024-07-07T03:43:12Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79645-
dc.description.abstractThe objectives of this research are to: (1) explore the current status of longan collaborative farm management (2) analyze the agricultural extension of longan collaborative farm management and (3) recommend agricultural extension approaches for longan collaborative farm management, conduct of mixed-method convergent design of parallel patterns. The quantitative research was conducted by interviewing 302 sampled farmers of the longan collaborative farming project in Lamphun province. The collected data were analyzed by descriptive statistics and multiple regression analysis. The qualitative research was conducted by focus group discussion specific targeted 10 agricultural extension officers, 10 officials from various relevant departments, and 10 representatives of the longan collaborative farms committee. The data were analyzed by the method of content analysis. The study found that farmers absolutely agreed with the extension management of the longan collaborative farming project. They were satisfied with the extension the longan collaborative farming project at a high level and with the participation of extension of the longan collaborative farming project at a medium level. There are 7 significant impact factors consisting of 6 positive factors, which are technology for longan production, income of longan production, having a title or a position in the longan collaborative farm, being a member of some agricultural organization, sources of information and channels for contacting officials. But there is only one negative factor, which is the area for growing longan. The study concludes that agricultural extension approaches for longan collaborative farm management consist of these aspects. (1) Approaches for extension of production management which consist of: promoting quality longan production throughout the supply chain, promoting the use of technology and innovation in longan production, promoting cost reduction in longan production, promoting the creation of added value from longan production according to the BCG Model, and promoting adaptation in dealing with climate change. (2) Approaches for extension of marketing management which consist of: promoting longan production to meet market demand, promoting the sale of longans directly from producers to consumers, and increasing marketing potential for longan collaborative farm. (3) Approaches for extension on group management which consist of: encouraging farmers to regularly participate in the group's activities to increase the efficiency of the management of longan collaborative farm committee, promoting good governance in managing longan collaborative farm, promoting coordination and network connections between collaborative farms and other agencies, and promoting the succession of farmer heirs to enter the profession of longan production and supporting new generations of farmers to become smart farmers. (4) Approaches for extension of participation in longan collaborative farm management which consist of: having more technology used in longan production, annual income from longan production has increased, holding a position in a longan collaborative farm, being members in agricultural organizations has increased, having more information source, and having more channels to contact officials. (5) Approaches for increasing efficiency in extension of longan collaborative farms which consist of: increasing the potential for knowledge and skills in longan production and improving the quality of life of agricultural extension officers, developing and extending further research and study knowledge, technology, and modern innovations in producing quality longan throughout the supply chain, raising the level of integration of work with various agencies to be more efficient.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAgricultural extension approaches for longan collaborative farm management in Lamphun Provinceen_US
dc.title.alternativeแนวทางการส่งเสริมการจัดการแปลงใหญ่ลำไยในจังหวัดลำพูนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshLongan -- Planting-
thailis.controlvocab.lcshLongan -- Lamphun-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการจัดการแปลงใหญ่ลำไย (2) วิเคราะห์การส่งเสริมการจัดการแปลงใหญ่ลำไย และ (3) เสนอแนวทางการส่งเสริมการจัดการแปลงใหญ่ลำไย ดำเนินการวิจัยแบบผสม ประเภทแบบแผนแบบคู่ขนาน โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างสมาชิกแปลงใหญ่ลำไยในจังหวัดลำพูน จำนวน 302 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ในส่วนของวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการประชุมกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน และตัวแทนกรรมการแปลงใหญ่ลำไย จำนวน 10 คน ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่าสมาชิกแปลงใหญ่เห็นด้วยอย่างยิ่งต่อการจัดการแปลงใหญ่ลำไย มีความพึงพอใจต่อการจัดการแปลงใหญ่ลำไยในระดับมาก และมีส่วนร่วมต่อการจัดการแปลงใหญ่ลำไยในระดับปานกลาง โดยปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จำนวน 7 ตัวแปร เป็นตัวแปรเชิงบวก 6 ตัวแปร ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตลำไย รายได้จากการผลิตลำไย การดำรงตำแหน่งในแปลงใหญ่ลำไย การเป็นสมาชิกองค์กรด้านการเกษตร แหล่งข้อมูลข่าวสาร และช่องทางในการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ในขณะที่ตัวแปรเชิงลบมี 1 ตัวแปร ได้แก่ พื้นที่ปลูกลำไย การศึกษาสรุปได้ว่าแนวทางการส่งเสริมการจัดการแปลงใหญ่ลำไย ประกอบด้วย (1) แนวทางการส่งเสริมการจัดการด้านการผลิต ได้แก่ ส่งเสริมการผลิตลำไยคุณภาพตลอดห่วงโซ่อุปทาน ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมการผลิตลำไย ส่งเสริมการลดต้นทุนในการผลิตลำไย ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการผลิตลำไยตามแนวทาง BCG Model ส่งเสริม การปรับตัวในการรับมือกับ Climate Change (2) แนวทางการส่งเสริมการจัดการด้านการตลาด ได้แก่ ส่งเสริมการผลิตลำไยให้ตรงกับความต้องการของตลาด ส่งเสริมการจำหน่ายลำไยจากผู้ผลิตถึงผู้บริโภคโดยตรง เพิ่มศักยภาพด้านการตลาดให้กับแปลงใหญ่ลำไย (3) แนวทางการส่งเสริมการจัดการด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ได้แก่ ส่งเสริมเกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มอย่างสม่ำเสมอเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของคณะกรรมการแปลงใหญ่ลำไย ส่งเสริมธรรมาภิบาลในการจัดการแปลงใหญ่ลำไย ส่งเสริมการประสานงานและเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างแปลงใหญ่ และหน่วยงานอื่น ๆ ส่งเสริมการสืบทอดทายาทเกษตรกรให้เข้ามาประกอบอาชีพการผลิตลำไย และสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Smart Farmer (4) แนวทางส่งเสริมการส่วนร่วมของเกษตรกรในการจัดการแปลงใหญ่ลำไย ได้แก่ มีเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตลำไยเพิ่มขึ้น รายได้จากการผลิตลำไยต่อปีเพิ่มขึ้น มีการดำรงตำแหน่งในแปลงใหญ่ลำไย เป็นสมาชิกองค์กรด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น มีแหล่งข้อมูลข่าวสารเพิ่มขึ้น มีช่องทางในการติดต่อกับเจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้น และ (5) แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพงานส่งเสริม แปลงใหญ่ลำไย ได้แก่ เพิ่มศักยภาพด้านความรู้และทักษะในการผลิตลำไย และพัฒนาคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร พัฒนาและต่อยอดการศึกษาวิจัยองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมสมัยใหม่ในการผลิตลำไยคุณภาพตลอดห่วงโซ่อุปทาน ยกระดับการบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630851014-WEERAPONG PALEE.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.