Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorเบญจวรรณ ปันใจen_US
dc.date.accessioned2024-07-07T03:14:39Z-
dc.date.available2024-07-07T03:14:39Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79640-
dc.description.abstractThis study aims to 1) analyze the context of using the electronic document management system of the Office of the Faculty of Science, Chiang Mai University 2) find ways to enhance the use of the electronic document management system of the Office of the Faculty of Science, Chiang Mai University. This study employed qualitative research methodology, collecting data from personnel using the electronic document management system in the Office of the Faculty of Science, Chiang Mai University. The tools used were in-depth interviews using semi-structured interviews with 2 levels of informants: 7 executives and 13 operational staff, totaling 20 people. They were selected from executives and operational staff whose duties were regularly involved with using the electronic document management system. Data analysis methods were content analysis and inductive conclusion building analysis. The study found that: 1) The context of using the electronic document system by the personnel of the Faculty of Science Office, Chiang Mai University, can be divided into 4 points according to the value proposition concept, consisting of point 1 using the e-Document system in operations, point 2 satisfaction with using the electronic document system, point 3 dissatisfaction or problems and obstacles in using the electronic document system, point 4 support systems that should be included in the electronic document system. 2) Guidelines for enhancing the use of the electronic document system consist of 3 main approaches: Approach 1 support and campaigning from the executives of the Faculty of Science to encourage Faculty of Science personnel to be aware of using the electronic document system, Approach 2 training on using the electronic document system for personnel, Approach 3 developing an electronic document system model that is easy to use by creating a "dashboard" and adding a notification system in the sending-receiving document process for relevant operators.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการยกระดับการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ของสำนักงานคณะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEnhancing the electronic document system usage of the Office of Faculty of Science, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashงานสารบรรณ-
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิทยาศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์บริบทการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ของสำนักงานคณะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2) หาแนวทางในการยกระดับการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานคณะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การศึกษานี้ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรที่ใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ในสำนักงานคณะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้เครื่องมือ ได้แก่ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง จากผู้ให้ข้อมูลจำนวน 2 ระดับ คือ ผู้บริหาร จำนวน 7 คน และผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 13 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน โดยคัดเลือกจากผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เป็นประจำ ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า 1) บริบทการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของบุคลากรสำนักงานคณะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถแบ่งเป็น 4 ข้อตามแนวคิดการเสนอคุณค่า ประกอบไปด้วย ข้อที่ 1 การใช้ระบบ e – Document ในการปฏิบัติงาน ข้อที่ 2 ด้านความ พึงพอใจการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ข้อที่ 3 ด้านความไม่พึงพอใจหรือปัญหาและอุปสรรคในการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ข้อที่ 4 ระบบสนับสนุนที่ควรมีในระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2) แนวทางในการยกระดับการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 3 แนวทางหลัก คือ แนวทางที่ 1 การสนับสนุนและการรณรงค์จากผู้บริหาร คณะวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์เกิดความตระหนักในการใช้งานระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ แนวทางที่ 2 การฝึกอบรมการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ให้ กับบุคลากร แนวทางที่ 3 การพัฒนารูปแบบระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ให้ง่ายต่อการใช้งานโดยการสร้าง "แดชบอร์ด" และการเพิ่มระบบการแจ้งเตือนในขั้นตอนการรับ – ส่งเอกสารให้กับผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932029 นางสาวเบญจวรรณ ปันใจ.pdf3.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.