Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79630
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนัย ลิขิตรัตน์เจริญ-
dc.contributor.authorอัษฎายุธ ชุมภูสืบen_US
dc.date.accessioned2024-07-06T09:04:43Z-
dc.date.available2024-07-06T09:04:43Z-
dc.date.issued2024-02-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79630-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to examine the relationship between earnings management in family firms and female directors on the board, before and after the COVID-19 pandemic, in publicly listed companies on the Stock Exchange of Thailand. The results show that being a family firm has a negative impact on earnings management. Specifically, after the outbreak of COVID-19, family firms exhibited a decrease in earnings management compared to the pre-pandemic period. Furthermore, it was also discovered that the presence of female directors on the board has a negative impact on earnings management, but this influence only becomes significant when the proportion of female directors exceeds 10%. However, the impact of female directors on earnings management decreases as their proportion increases. Additionally, the presence of independent female directors reduces earnings management, but the presence of female directors who have family relationships within family firms leads to an increase in earnings management. These findings underscore the importance of gender diversity and equality within organizations from a financial and earnings management perspective, emphasizing that diverse boards and the presence of female directors can significantly influence a company’s earnings management practices.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการกำไรในบริษัทครอบครัวกับกรรมการบริษัทที่เป็นเพศหญิงในช่วงก่อนและหลังเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส 2019en_US
dc.title.alternativeRelationship between earnings management in family firms and female board of director before and after COVID-19 pandemicen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการจัดการกำไร-
thailis.controlvocab.thashบรรษัทภิบาล-
thailis.controlvocab.thashโคโรนาไวรัส-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการกำไรในบริษัทครอบครัวกับกรรมการบริษัทที่เป็นเพศหญิงของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งในช่วงก่อนและหลังเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ผลการศึกษาพบว่าการเป็นบริษัทครอบครัวส่งผลให้การจัดการกำไรตามเกณฑ์คงค้างของบริษัทลดลง โดยในสถานการณ์หลังการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 บริษัทครอบครัวมีการจัดการกำไรที่ลดลง เมื่อเทียบกับก่อนแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 และยังพบว่าการมีอยู่ของกรรมการเพศหญิงมีผลเชิงลบต่อการจัดการกำไรตามเกณฑ์คงค้างโดยสัดส่วนของกรรมการเพศหญิงต้องมากกว่าร้อยละ 10 จึงจะส่งผลให้การจัดการกำไรลดลง แต่อิทธิพลของกรรมการเพศหญิงต่อการจัดการกำไรจะลดลงเมื่อสัดส่วนของกรรมการเพศหญิงเพิ่มขึ้น และการมีอยู่ของกรรมการเพศหญิงที่เป็นกรรมการอิสระส่งผลให้การจัดการกำไรตามเกณฑ์คงค้างลดลง แต่ถึงอย่างนั้นการมีอยู่ของกรรมการเพศหญิงที่อยู่ในบริษัทครอบครัวตัวเองนั้นส่งผลให้ระดับการจัดการกำไรของบริษัทนั้นเพิ่มขึ้น ดังนั้นผลลัพธ์ของการศึกษาชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการมีความหลากหลายและมีความเท่าเทียมทางเพศในองค์กรในมุมมองทางการเงินและการจัดการกำไรของบริษัทได้อย่างชัดเจนen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631532153-AUTSADAYUT CHUMPUSUEB.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.