Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79629
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ เอื้อพันธ์วิริยะกุล-
dc.contributor.authorปัณณวิชญ์ พันธ์วงศ์en_US
dc.date.accessioned2024-07-06T08:42:28Z-
dc.date.available2024-07-06T08:42:28Z-
dc.date.issued2567-02-13-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79629-
dc.description.abstractMedical images have ill-defined edges caused by noise, therefore, it is difficult to identify edge boundaries. In the literature, the ill=defined edge detection [1] is very effective in finding such edges. However, the parameters used in the algorithm have to be selected manually. In this thesis, we utilized three swarm intelligence algorithms, i.e., Particle Swarm Optimization (PSO), Aquila Optimizer (AO), and Modified Marine Predators Algorithm (MMPA) to find suitable parameters. We evaluate this proposed algorithms on five data sets, i.e., synthetic images with Gaussian noise, synthetic images with uniform noise, wrist X-ray images, knee CT scan images, and prostate ultrasound images. The Intersection over Union (IOU) metric was used to evaluate the performance of the proposed method. The results showed that the proposed method was able to effectively find optimal parameters for edge following, with average IOU scores of 0.9197±0.01511, 0.93153±0.01218, 0.92575±0.05121, 0.88134±0.10417, and 0.50240±0.22601 on the five datasets, respectively. The main source of errors in edge detection was found to be the discontinuity of the average edge vector field and edge map, as well as noise in the starting point, which can lead to incorrect identification of edge pixels.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความฉลาดเชิงกลุ่มในอัลกอริทึมการตรวจจับขอบที่ไม่ชัดเจนen_US
dc.title.alternativeSwarm intelligence in Ill-defined edge detection algorithmen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอัลกอริทึม-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
thailis.controlvocab.thashปัญญาเชิงกลุ่ม-
thailis.controlvocab.thashการประมวลผลภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาพทางการแพทย์โดยส่วนใหญ่พบว่ามีสัญญาณรบกวน ซึ่งเป็นจุดอ่อนของการตรวจหาขอบของวัตถุ โดยสัญญาณรบกวนดังกล่าว จะส่งผลให้ขอบของวัตถุมีลักษณะที่ไม่ชัดเจน และยากต่อการระบุขอบที่ถูกต้อง ซึ่งอัลกอริทึมสำหรับหาขอบไม่ชัดเจนในภาพที่มีสัญญาณรบกวน [1] ถูกคิดค้นเพื่อช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว และสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เทคนิคการตามรอยขอบภาพที่คำนวณจากรูปแบบสนามเวกเตอร์ขอบเฉลี่ย และแผนที่ขอบ แต่ถึงอย่างไรก็ตาม อัลกอริทึมดังกล่าว ต้องกำหนดค่าพารามิเตอร์การติดตามขอบที่ลองผิดลองถูกจากผู้ใช้งาน จนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งในวิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงการค้นหาพารามิเตอร์ที่เหมาะสมแบบอัตโนมัติ โดยใช้ความฉลาดเชิงกลุ่มทั้งหมด 3 อัลกอริทึม คือ Particle Swarm Optimization (PSO), Aquila Optimizer (AO), และ Modified Marine Predators Algorithm (MMPA) ซึ่งทำการทดลองกับชุดข้อมูล 5 ชุดข้อมูล ประกอบไปด้วย ชุดข้อมูลสังเคราะห์ที่ถูกรบกวนด้วยสัญญาณแบบเกาส์เซียน, ชุดข้อมูลสังเคราะห์ที่ถูกรบกวนด้วยสัญญาณแบบยูนิฟอร์ม, ชุดข้อมูลภาพเอกซเรย์กระดูกข้อมือ, ชุดข้อมูลภาพซีทีแสกนกระดูกข้อเข่า และชุดข้อมูลภาพอัลตราซาวนด์ต่อมลูกหมาก ทั้งนี้ ในวิทยานิพนธ์ได้เลือกใช้อินเตอร์เชกชันโอเวอร์ยูเนียน (IOU) เป็นฟังก์ชันประเมินความเหมาะสม ซึ่งพบว่าวิธีการค้นหาพารามิเตอร์โดยใช้ความฉลาดเชิงกลุ่ม สามารถค้นหาพารามิเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี IOU โดยเฉลี่ยสูงสุดของแต่ละชุดข้อมูลดังกล่าวอยู่ที่ 0.9197±0.01511, 0.93153±0.01218, 0.92575±0.05121, 0.88134±0.10417 และ 0.50240±0.22601 ตามลำดับ ซึ่งสุดท้ายพบว่า การติดตามขอบที่ผิดพลาด เกิดจากรูปแบบสนามเวกเตอร์ขอบเฉลี่ย และแผนที่ขอบที่มีลักษณะไม่ต่อเนื่อง เช่นเดียวกับจุดเริ่มต้นที่เป็นสัญญาณรบกวน ทำให้การระบุพิกเซลที่เป็นขอบเกิดข้อผิดพลาดen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640631102-PANNAWIT PANWONG.pdf136.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.