Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิกานต์ ศรีนารา-
dc.contributor.advisorวราภรณ์ เรืองศรี-
dc.contributor.advisorสิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์-
dc.contributor.authorคชษิณ สุวิชาen_US
dc.date.accessioned2024-06-28T10:25:27Z-
dc.date.available2024-06-28T10:25:27Z-
dc.date.issued2024-04-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79594-
dc.description.abstractThis dissertation aims to examine the economic, social, and political transformations in Northeast Thailand from 2500 to 2550 B.E. Specifically, it investigates the repercussions on the Laotian labor force in the region. It analyzes their adaptive strategies in response to these changes. The study reveals that the expansion of state power and capital has led to significant exploitation and marginalization of the Laotian labor force in Northeast Thailand. However, Laotian workers have employed various strategies of resistance and negotiation. From 2500 to 2510 B.E., their resistance and negotiation tactics primarily revolved around “self-reliance” including silent protests, diligence, non-confrontation, engagement in religious activities, and forming new family units. In contrast, from 2520 to 2530 B.E., their strategies shifted towards collective action through social networks. This included forming groups to negotiate for better wages and benefits, communal cooking, and collective donations to temples. Furthermore, from 2540 to 2550 B.E., Laotian laborers adopted a different approach by emphasizing negotiation through governmental and non-governmental external organizations. Examples include participation in student groups and collaborative activities with community development organizations, primarily focusing on advocating for basic rights for ethnic minority workers. This research sheds light on the evolving strategies of Laotian laborers in Northeast Thailand in response to economic, social, and political changes, emphasizing the importance of understanding grassroots mobilization and external organizational support in negotiating for their rights.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแรงงานข้ามชาติ ชาวลาว อีสาน การต่อสู้ การปรับตัวen_US
dc.titleชีวิตและการต่อสู้ ต่อรอง ของแรงงานชาวลาวในอีสานทศวรรษ 2500 -2550en_US
dc.title.alternativeThe Life, struggles and negotiations of the Laotian workers in the North-Eastern of Thailand in during 1960s – 2010sen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแรงงานต่างด้าวลาว -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashการบริหารรัฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashไทย -- การเมืองและการปกครอง-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractดุษฏีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองในอีสานช่วงทศวรรษ 2500 -2550 มีผลกระทบอย่างไรต่อแรงงานชาวลาวในภาคอีสาน และแรงงานชาวลาวในภาคอีสานมีการปรับตัว การต่อสู้ และการต่อรองต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างไร ผลการศึกษา พบว่าการขยายอำนาจของรัฐและทุนส่งผลให้เกิดการกดขี่และเอารัดเอาเปรียบแรงงานชาวลาวในภาคอีสานอย่างมาก แต่แรงงานชาวลาวก็มีกลยุทธ์ในการต่อสู้ต่อรองอย่างไม่ยอมจำนน โดยการต่อสู้ต่อรองของแรงงานชาวลาวในช่วงทศวรรษ 2500-2510 เป็นการต่อสู้ต่อรอง “ด้วยตัวเอง” อาทิ การใช้ความเงียบ ความขยัน ไม่ขัดแย้ง การทำบุญที่วัด และการสร้างครอบครัวใหม่ ขณะที่กลยุทธ์การต่อสู้ต่อรองของแรงงานชาวลาวในช่วงทศวรรษ 2520-2530 มีลักษณะที่แตกต่างออกไปคือให้ความสำคัญกับการต่อสู้ผ่าน “เครือข่ายทางสังคม” อาทิ การรวมกลุ่มต่อรองค่าตอบแทนและสวัสดิการ รวมกลุ่มทำอาหารกินร่วมกัน และ รวมกลุ่มทำต้นเงินต้นทองถวายวัด เป็นต้น ส่วนการต่อสู้ต่อรองของแรงงานชาวลาวในอีสานในช่วงทศวรรษ 2540-2550 มีความแตกต่างจากทั้งสองช่วงเวลาที่ผ่านมา โดยให้ความสำคัญกับการต่อสู้ต่อรองผ่าน “องค์กรภายนอกชุมชน” ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน อาทิ การเป็นนักศึกษา กศน. เข้าร่วมกลุ่มและร่วมทำกิจกรรมกับองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมการส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับแรงงานข้ามชาติen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610151003 - คชษิน สุวิชา .pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.