Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.authorปาณิสรา รินคำen_US
dc.date.accessioned2024-06-26T09:31:15Z-
dc.date.available2024-06-26T09:31:15Z-
dc.date.issued2024-04-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79579-
dc.description.abstractThis independent study aimed to study the social skills and creativity of early childhood students after organizing activities process according to science, technology, and society concepts. The target group used in this study is 25students in kindergarten 2, academic year 2022of Ban ChoengDoi Suthep School, Mueang District, Chiang Mai Province. The tools used in this research included 15 experience management plans for organizing the learning process according to the concepts of science, technology and society concept, social skills observation form, and creativity assessment form. The data were analyzed by finding percentages, means, and standard deviations. The results of this research were as follow: 1. Early childhood students had social skills after organizing learning process management according to science, technology and society concepts. Overall, it was at a very good level. Accounting for 82.35 percent, higher than the 70 percent threshold specified. 2. Early childhood students had creativity skills after learning process management according to science, technology and society concepts. Overall, it was at a good level. Accounting for 76.25 percent, higher than the 70 percent threshold specified.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เพื่อส่งเสริมทักษะสังคม และความคิดสร้างสรรค์ ของเด็กปฐมวัยen_US
dc.title.alternativeLearning process management according to science, technology and society concepts to promote social skill and creativity of early childhood studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นก่อนประถม-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้-
thailis.controlvocab.thashการเรียนแบบมีส่วนร่วม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะสังคมและความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย หลังจัดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มีกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนในระดับชั้นอนุบาล 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แผนประสบการณ์อิงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม จำนวน 3 หน่วย รวม 15 แผน แบบสังเกตทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย และแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การศึกษาพบว่า 1. เด็กปฐมวัยมีทักษะสังคมหลังจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 82.35 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดไว้ 2. เด็กปฐมวัยมีทักษะความคิดสร้างสรรค์หลังจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม โดยรวมอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 76.25 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดไว้en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640232030 ปาณิสรา รินคำ.pdf10.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.