Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79557
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เดชา ทำดี | - |
dc.contributor.advisor | ศิวพร อึ้งวัฒนา | - |
dc.contributor.author | นัฏยา เห็มสัตย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-22T02:36:42Z | - |
dc.date.available | 2024-06-22T02:36:42Z | - |
dc.date.issued | 2024-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79557 | - |
dc.description.abstract | Stroke patients are limited in their ability to provide self-care, having high risks for complications, especially pressure sores. Caregivers are important in providing care to prevent complications. This quasi-experimental study aims to compare mean scores for pressure ulcer prevention behavior in people having had a stroke in a community before and after receiving a program, and between an experimental group and a control group. The sample were 50 caregivers for patients having had a stroke in a community, divided into 24 caregivers undergoing the program and 26 receiving normal nursing care. The research tools included a family support program developed by the researcher based on House’s social support approach (1981). Data collection tools include a general information questionnaire and a questionnaire on pressure ulcer prevention behaviors in stroke patients. The content validity index (S-CVI) of the tools was 0.80, and reliability, using Cronbach’s alpha coefficient, produced a value of 0.91. Data analysis was performed using descriptive statistics and comparative statistics. The results showed that the experimental group, who received the family support program for 8 weeks, had a mean score of 71.50 (S.D. = 8.21) for prevention behaviors in stroke patients, which was significantly higher than the pre-program score of 47.96 (S.D. = 14.39; p < .001). The group receiving the program also had significantly higher scores compared to the group receiving normal nursing care with a mean score of 59.25 (S.D. = 8.06; p < .001). This result demonstrates that the family support program can effectively promote pressure ulcer prevention behaviors in stroke patients among at-risk populations in a community, reducing the pressure ulcer prevention behavior in people with cerebrovascular disease. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ผลของโปรแกรมส่งเสริมการสนับสนุนจากครอบครัว | en_US |
dc.subject | แผลกดทับ | en_US |
dc.subject | ผู้ดูแลในครอบครัวผู้มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน | en_US |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง | en_US |
dc.subject | ชุมชน | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการสนับสนุนจากครอบครัวต่อพฤติกรรมการป้องกันแผลกดทับของผู้ดูแลในครอบครัวผู้มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Effect of the family support enhancement program on pressure ulcer prevention behaviors of family caregivers of stroke persons incommunity | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรคหลอดเลือดสมอง | - |
thailis.controlvocab.thash | โรคหลอดเลือดสมอง -- ผู้ป่วย | - |
thailis.controlvocab.thash | แผลกดทับ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ป่วย -- การดูแล | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ผู้มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองมีข้อจำกัดในการดูแลตนเองทำให้เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะการเกิดแผลกดทับ ดังนั้นผู้ดูแลจึงมีความสำคัญในการให้การดูแล เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว การศึกษากึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงเพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันแผลกดทับในผู้มีภาวะหลอดเลือดสมองในชุมชนก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ และระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ และกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลผู้มีภาวะหลอดเลือดสมองในชุมชน จำนวน 50 ราย แบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ 24 ราย และกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ 26 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมส่งเสริมแรงสนับสนุนจากครอบครัวที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดของ เฮ้าส์ (House, 1981) และเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันแผลกดทับ ได้ดัชนีความตรงของเนื้อหาทั้งฉบับ (S-CVI) .80 และหาค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค ได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติ independent t test และ pair t test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันแผลกดทับของผู้ดูแลในครอบครัวผู้มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนเท่ากับ 71.50 (S.D.=8.21) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ ที่มีคะแนนเท่ากับ 47.96 (S.D.= 14.39) และสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการบริการตามปกติที่มีคะแนนเฉลี่ย 59.25 (S.D.= 8.06) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p<.001 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมส่งเสริมแรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันแผลกดทับของผู้ดูแลในครอบครัวผู้มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนได้ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631231132-นัฏยา เห็มสัตย์ watermark.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.