Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79556
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา-
dc.contributor.authorศุภกิตติ์ กรวดสูงเนินen_US
dc.date.accessioned2024-06-22T02:21:29Z-
dc.date.available2024-06-22T02:21:29Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79556-
dc.description.abstractThis thesis aims to study the effects of four types of potassium solutions, namely Potassium Hydroxide (KOH), Potassium Chloride (KCl), Potassium Nitrate (KNO3) and Potassium Sulfate (K2SO4) on improving the quality of Mae Moh’s expansive soil for use as a guideline for studying the properties for designing subgrade soil with swelling characteristics. The initial test of free swell index on expansive soil mixed with those four K-solutions at variety of concentrations revealed that K2SO4 could not reduce the swell whilst KCl, KOH, and KNO3 at the concentrations of 10%, 20% and 20% respectively, reduced the swell significantly. Subsequently, the concentrations obtained from the initial test were used to test the percent free swell. It showed that the soil soaked in KCl solution demonstrated significant reduction of swelling, followed by KNO3 and KOH solutions. From the test results on swelling pressure, it was found that the soil soaked in KOH solution significantly increased the swelling pressure. Subsequently, laboratory tests were conducted by soaking the soil in KCl and KOH solutions, followed by drying and California Bearing Ratio (CBR) testing to simulate soil quality improvement in the field. It was found that both types of soaked soils showed increased CBR values. Ultimately, the results from the swelling tests indicated that both solutions could effectively reduce soil swelling. The soil treated with 20% KOH solution exhibit the improved CBR value from 1.42 to 17.80, and the decreased swelling from 6.08 to only 0.05 which ave acceptable for using as subgrade material.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectดินบวมตัวen_US
dc.titleการปรับปรุงสภาพดินบวมตัวด้วยการใช้สารละลายโพแทสเซียมในพื้นที่อำเภอแม่เมาะen_US
dc.title.alternativeImprovement of expansive soil using potassium solutions in Mae Moh Areaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashดิน -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashโพแทสเซียม-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมโครงสร้าง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสารละลายโพแทสเซียม 4 ชนิด ได้แก่ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์(KOH), โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl), โพแทสเซียมไนเตรต(KNO3) และโพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4) ต่อการปรับปรุงคุณภาพของดินบวมตัวแม่เมาะเพื่อใช้เป็นแนวทางศึกษาคุณสมบัติสำหรับการออกแบบชั้นดินเดิมที่มีการบวมตัว โดยการทดสอบแรกคือดัชนีการบวมตัวอิสระของดินบวมตัวที่ผสมสารละลายโพแทสเซียม 4 ชนิดที่ความเข้มข้นต่างๆ พบว่า K2SO4 ไม่สามารถลดการบวมตัวได้ ในขณะที่ KCl, KOH และ KNO3 ที่ความเข้มข้น 10%, 20%, 20% ตามลำดับสามารถลดการบวมตัวได้ อย่างมีนัยสำคัญ จากนั้นนำความเข้มข้นที่ได้จาการทดสอบแรก ไปใช้เพื่อทำการทดสอบการบวมตัวอิสระ พบว่า ดินที่แช่ในสารละลาย KCl สามารถลดการบวมตัวได้มากที่สุด รองลงมาด้วยสารละลาย KNO3 และ KOH ตามลำดับ และจากผลการทดสอบแรงดันในการบวมตัว พบว่า ดินที่แช่ในสารละลาย KOH ทำให้แรงดันในการบวมตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ จากนั้นจึงทำการทดสอบในห้องปฏิบัติการโดยนำดินไปแช่ในสารละลาย KCl และ KOH แล้วทำการอบให้แห้งแล้วนำมาทดสอบ California Bearing Ratio เพื่อจำลองการปรับปรุงคุณภาพดินในสนาม พบว่าดินที่แช่ในสารละลายทั้ง 2 ชนิดมีค่า CBR ที่เพิ่มขึ้นและท้ายที่สุดผลของการทดสอบการบวมตัวของดินที่ได้จากการทดสอบ CBR พบว่าสารละลายทั้งสองสามารถลดการบวมตัวของดินแม่เมาะ โดยที่ดินที่ถูกปรับปรุงด้วยสารละลาย KOH ความเข้มข้น 20% ทำให้ค่า CBR เพิ่มจาก 1.42 ของดินตามธรรมชาติเป็น 17.80 และการบวมตัวลดลงจาก 6.08 เป็น 0.05 ซึ่งเหมาะสมที่สุดในการนำไปใช้เป็นชั้นดินเดิมen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631024-ศุภกิตติ์ กรวดสูงเนิน.pdf4.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.