Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79555
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา-
dc.contributor.authorธีรศักดิ์ ไชยชนะen_US
dc.date.accessioned2024-06-22T02:14:43Z-
dc.date.available2024-06-22T02:14:43Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79555-
dc.description.abstractThis study aims to investigate the heaving and bearing capacity of the expansive soil in Mae Moh district, Lampang province, Thailand, which reduces after swelling and saturating with water, by testing samples from a residential building with heaving and potentially settling problems. The study method involves examining the soil's bearing capacity from shear parameters: cohesion and internal friction angle obtained from direct shear tests on soil samples soaked in the shear box. The results show that in all cases, the soil stops swelling when moisture content increases by approximately 30 to 32%, with reduced cohesion and friction angles when initial moisture content is higher and dry density is lower, including lower normal stress. From the calculations of the bearing capacity using the test results, it is found that the bearing capacity significantly decreases when the initial dry density is less than 16 kN/m³, which is particularly dangerous for designing spread footing. Hence, testing the shear strength of soil under swelling conditions with increased moisture content is essential for designing foundation bases on expansive soil, as the strength could decrease by approximately 5-6 times naturally.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นต่อกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินบวมตัวในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeEffect of changes in moisture content on the bearing capacity of expansive soil layers in Mae Moh District, Lampang Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashฐานราก-
thailis.controlvocab.thashดิน -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมโครงสร้าง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นี้เป็นการศึกษาการยกตัวของฐานรากและกำลังแบกทานของดินเหนียวบวมตัวในพื้นที่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ซึ่งเมื่อเกิดการบวมตัวขึ้นแล้วกำลังแบกทานจะลดลง โดยการทดสอบตัวอย่างจากอาคารที่พักอาศัยที่มีปัญหาการยกตัว และการทรุดตัว โดยใช้วิธีการศึกษาจากการตรวจสอบความสามารถในการรับน้ำหนักของดินจากพารามิเตอร์กำลังเฉือน ได้แก่ แรงยึดเกาะและมุมเสียดทาน โดยใช้การทดสอบแบบเฉือนตรงระบายน้ำบนตัวอย่างดินที่แช่ในกล่องแรงเฉือน ผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าทุกกรณีดินจะหยุดบวมเมื่อความชื้นเพิ่มขึ้นประมาณ 30% ถึง 32% โดยที่มีแรงยึดเกาะและมุมเสียดทานลดลง จากการคำนวณกำลังแบกทานโดยใช้ผลการทดสอบพบว่ากำลังแบกทานลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญเมื่อความหนาแน่นแห้งเริ่มต้นน้อยกว่า 16 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นอันตรายอย่างยิ่งสำหรับการออกแบบฐานรากชนิดฐานแผ่ ดังนั้นการทดสอบการต้านทานแรงเฉือนของดินภายใต้สภาวะการบวมตัวจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการออกแบบฐานรากบนดินบวมตัว เนื่องจากความแข็งแรงอาจลดลงถึงประมาณ 5 ถึง 6 เท่าจากดินที่ไม่ได้อยู่ในสภาพการบวมตัวen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631073-Thirasak Chaichana.pdfผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นต่อกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินบวมตัวในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง6.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.