Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79535
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorปวีณา ปัญญาวงค์en_US
dc.date.accessioned2024-06-19T10:53:02Z-
dc.date.available2024-06-19T10:53:02Z-
dc.date.issued2024-04-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79535-
dc.description.abstractThis study aimed to study 1) All sectors have a collaboration network, Network model, Collaboration network process and Working pattern and relationship of all sectors put network of volunteers protecting national parks, wildlife and plants together. 2) All sectors participate with network of volunteers protecting national parks, wildlife and plants together in forest fire prevention and haze pollution in protected forest areas, Mae Ai District, Chiang Mai Province, and 3) Network of volunteers protecting national parks, wildlife and plants and All sectors cooperate process, problems encountered, and problem solutions to forest fire prevention and haze pollution. This qualitative research made use of in-depth interviews and focus groups who 7 government officers, 4 community leaders, 21 network leaders, 5 forest fire workers, and 21 volunteers. The tools used in semi-structured interviews contain open-ended questions. The results revealed that 1) All sectors cooperate with network of volunteers protecting national parks, wildlife and plants for forest fire prevention and haze pollution in the Mae Ai District area consisting of the Local Administrative Organization, Subdistrict Headman, Village Headman, Village leaders, and Villagers that network of volunteers protecting national parks, wildlife and plants. They collaborate with government officers consisting of Mae Ai District officer, Doi Pha Hom Pok National Park officer, Doi Pha Hom Pok Forest Fire Control Station officer, Subdistrict Administrative Organization officer, Municipality officer, military, police, temple personnel, school personnel, and private sector in Mae Ai District area. The collaboration involved assigning roles, functions, missions, and activities that each party was responsible for, exchanging information, support equipment, and budgets. The working patterns and relationships of all sectors are formal and informal. 2) Participation in the collaboration network was government officers' awareness of the problem and open-mindedness for all sector's opinions. They had more functions and activities for the Subdistrict Headman, Village leaders, Forest Fire Control Station officer, and network of volunteers protecting national parks, wildlife and plants for reassurance and participation in deciding all working processes and They had many potentiate in decided. 3) Participation was collaborative learning about activities processes and negotiation in formal and informal. They have an MOU for accepting agreements and managing objectives that develop leadership in deciding for each other. Therefore, the activities process was done and the performance together.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการดำเนินงานของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeOperations of the network of volunteers protecting National Parks, Wildlife and Plants in preventing and solving forest fire problems in protected forest areas, Mae Ai district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัคร-
thailis.controlvocab.thashอุทยานแห่งชาติ -- แม่อาย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- แม่อาย (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาคส่วนที่ร่วมเป็นเครือข่าย รูปแบบของเครือข่าย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ลักษณะการทำงานและความสัมพันธ์ กับภาคส่วนอื่น ๆ ที่เข้ามาทำงานร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 2) การเข้ามา มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กับภาคส่วนอื่น ๆ ที่เข้ามาทำงานร่วมกัน 3) แนวทางการสร้างความร่วมมือของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กับภาคส่วนอื่นที่เข้ามาร่วมดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันในพื้นที่ฯ ปัญหาที่พบและทางออกสำหรับการแก้ไข การศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ตัวแทนส่วนงานภาครัฐ 7 คน ผู้นำชุมชน 4 คน แกนนำเครือข่าย 21 คน ตัวแทนผู้ปฏิบัติงานด้านไฟป่า 5 คน และตัวแทนอาสาสมัคร 21 คน ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการจัดสนทนากลุ่มย่อย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า 1. ภาคส่วนที่ร่วมเป็นเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟป่า ในพื้นที่ อำเภอแม่อาย ประกอบด้วย อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำชุมชน และชาวบ้านในพื้นที่ที่เข้าเป็นอาสาสมัคร โดยการทำงานร่วมกับส่วนงานภาครัฐ คือ อำเภอแม่อาย อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก สถานีควบคุมไฟป่าดอยผ้าห่มปก อบต. เทศบาล ทหาร ตำรวจ วัด โรงเรียน ภาคเอกชนในพื้นที่ โดยมีการกำหนดบทบาท หน้าที่ ภารกิจ กิจกรรมที่แต่ละฝ่ายต้องรับผิดชอบ แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร สนับสนุนด้านอุปกรณ์เครื่องมือ งบประมาณ ส่วนลักษณะการทำงานและความสัมพันธ์ระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ มีทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 2. การมีส่วนร่วมของเครือข่ายฯ พบว่า หน่วยงานภาครัฐได้มีการรับรู้รับทราบถึงปัญหา และรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนมีการเพิ่มบทบาทให้แก่ กำนัน แกนนำ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านไฟป่า และอาสาสมัครในพื้นที่ ในการเข้ามาร่วมในทุกขั้นตอนเพื่อสร้างความมั่นใจ สร้างความร่วมมือ เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจในทุกขั้นตอนการทำงาน และเสริมพลังอำนาจให้แก่ กำนัน แกนนำ ผู้ปฏิบัติงานด้านไฟป่า และอาสาสมัครในพื้นที่ ในการตัดสินใจ 3. กระบวนการสร้างความร่วมมือ เริ่มจากและเรียนรู้ร่วมกัน เกี่ยวกับกิจกรรมที่จะดำเนินการ มีการเจรจาต่อรอง ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และตกลงยอมรับในข้อตกลงและยอมรับร่วมกัน โดยการจัดทำเป็นบันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่างกัน เมื่อมีการกำหนดข้อตกลง เป้าหมาย จึงร่วมกันดำเนินการตามข้อตกลง มีการสร้างภาวะผู้นำให้แก่ผู้ปฏิบัติงานทุกกลุ่ม ในการตัดสินใจ และเมื่อดำเนินการแล้วเสร็จในกิจกรรมที่ได้ตกลงกันไว้ จึงร่วมกันประเมินผลการดำเนินงานen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932030-ปวีณา ปัญญาวงค์.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.